ฟุตโน้ต:19:101

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
ฟุตโน้ต:19:101 [2020/08/29 13:07]
dhamma
ฟุตโน้ต:19:101 [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
 และชนเหล่าใด ชอบใจคำพูดทุพภาษิตใด,​ ชอบใจคำพูดพลั้งพลาดใด,​ ชอบใจคำพูดหลงลืมใด,​ ชอบใจความพ่ายแพ้ของกันและกันใด,​ พระอริยะไม่พูดคำพูดเหล่านั้นในแบบของชนเหล่านั้นเลย. ((ตัวคำพูด[เสียง]เป็นรูปธรรม อัพยากตธรรม เกิดจากจิตได้ทั้ง 3 ชาติ ฉะนั้น จึงไม่ใช่เครื่องชี้วัดว่าเป็นกถาวัตถุของพระอริยะหรือไม่ใช่. ​ แต่การจะวัดค่าของคำพูดว่า เป็นกถาวัตถุของพระอริยะหรือไม่นั้น ให้ดูที่คุณสมบัติที่จะกล่าวในคาถาถัดไป ซึ่งออกมาจากจิต เป็นจิตตชรูป.)) และชนเหล่าใด ชอบใจคำพูดทุพภาษิตใด,​ ชอบใจคำพูดพลั้งพลาดใด,​ ชอบใจคำพูดหลงลืมใด,​ ชอบใจความพ่ายแพ้ของกันและกันใด,​ พระอริยะไม่พูดคำพูดเหล่านั้นในแบบของชนเหล่านั้นเลย. ((ตัวคำพูด[เสียง]เป็นรูปธรรม อัพยากตธรรม เกิดจากจิตได้ทั้ง 3 ชาติ ฉะนั้น จึงไม่ใช่เครื่องชี้วัดว่าเป็นกถาวัตถุของพระอริยะหรือไม่ใช่. ​ แต่การจะวัดค่าของคำพูดว่า เป็นกถาวัตถุของพระอริยะหรือไม่นั้น ให้ดูที่คุณสมบัติที่จะกล่าวในคาถาถัดไป ซึ่งออกมาจากจิต เป็นจิตตชรูป.))
  
-แต่ถ้า[[บัณฑิต]]รู้จักกาล(กาลเทศะเป็นต้น)อัเหมาะสมแ้ว ​ะสง์จะพูด ​ควรมีความรู้ ไม่โกรธ ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่โอ้อวด ไม่ใจเบาหุนหันพลันแล่น ไม่คอยจับผิด พูดแต่เรื่องที่เกี่ยวกับบุคคลผู้ดำรงอยู่ในธรรม เป็นเรื่องที่พระอริยะประพฤติกันมา เพราะรู้ทั่วถึงโดยชอบ ​เขาไม่พูดริษยา ​บุคคลควรชื่นชมถ้อยคำที่เป็นสุภาษิต ไม่ควรเลื่อมใสถ้อยคำที่เป็นทุพภาษิต ไม่ควรใส่ใจถึงความแข่งดี และไม่ควรคอยจับผิด ไม่ควรพูดทับถม ไม่ควรพูดย่ำยี ไม่ควรพูดเหลาะแหละ เพื่อความรู้ เพื่อความเลื่อมใส สัตบุรุษทั้งหลายจึงมีการปรึกษากัน พระอริยะทั้งหลายย่อมปรึกษากันเช่นนั้นแล นี้เป็นการปรึกษากันของพระอริยะทั้งหลาย บุคคลผู้มีปัญญารู้เรื่องนี้แล้ว ไม่ควรถือตัว ควรปรึกษากัน+แต่เมื่อ[[บัณฑิต]]ประสงค์จะพูด ก็[[รู้จักกาล]]อันเหมาะสมแล้ว((กาลเทศะเป็นต้นนสัปปุริสธรรม 7.)) พูดต่คำที่ประกอบด้วยธรม พูดแต่ำที่พระอริยะพูดกัน ​มีความรู้ ไม่โกรธ ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่โอ้อวด ไม่ใจเบาหุนหันพลันแล่น ไม่คอยจับผิด ​ ​ไม่พูดริยา เพราะรู้ทั่วถึงโดยชอบ บุคคลควรชื่นชมถ้อยคำที่เป็น[[สุภาษิต]] ไม่ควรเลื่อมใสถ้อยคำที่เป็น[[ทุพภาษิต]] ไม่ควรใส่ใจถึงความแข่งดี และไม่ควรคอยจับผิด ไม่ควรพูดทับถม ไม่ควรพูดย่ำยี ไม่ควรพูดเหลาะแหละ เพื่อความรู้ เพื่อความเลื่อมใส สัตบุรุษทั้งหลายจึงมีการปรึกษากัน พระอริยะทั้งหลายย่อมปรึกษากันเช่นนั้นแล นี้เป็นการปรึกษากันของพระอริยะทั้งหลาย บุคคลผู้มีปัญญารู้เรื่องนี้แล้ว ไม่ควรถือตัว ควรปรึกษากัน