ฟุตโน้ต:152:19

บทว่า เช่นเดียวกัน (ตถา) เป็นศัพท์ที่หมายถึงน้อมอาการที่แสดงไปว่า "ศีลเป็นต้นเป็นอันแสดงอธิศีลสิกขาเป็นต้นตามอธิบายมาแล้วอย่างไร, ศีลเป็นต้นก็เป็นอันแสดงอุปนิสัยแห่งความเป็นเตวิชโชเป็นตันอย่างนั้นเหมือนกัน". ผู้สวดควรทราบความเป็นอุปนิสัยให้ได้วิชชา 3 โดยการยังเหตุที่เป็นสภาคะกันให้ถึงพร้อมอย่างนี้ว่า "ก็เพราะเมื่อศีลบริสุทธิ์อยู่ก็บริสุทธิ์ด้วยการไม่มีสังกิเลสและถึงความบริบูรณ์ด้วยพลังสติสัมปชัญญะและด้วยพลังกัมมัสสกตญาณ, ฉะนั้น เมื่อความถึงพร้อมแห่งศีล (ศีลสัมปทา) สำเร็จอยู่ก็ทำให้พลังสติและพลังญาณตั้งมั่นคงไปด้วย เพราะความถึงพร้อมแห่งอุปนิสัย (อุปนิสฺสยสมฺปตฺติ)". เป็นความจริงที่ว่า ความสำเร็จแห่งบุพเพนิวาสวิชชา (ความรู้ระลึกชาติได้มาก) มีด้วยการฉลาดบริหารการระลึก (สติ), ความสำเร็จแห่งวิชชาที่ 2 มีด้วยการรู้โดยประการต่างๆ จนสมบูรณ์พร้อม (สัมปชัญญะ) เพราะตามทำจุตูปปาตญาณด้วยการสั่งสมความเห็นดีงามที่เคยทำไว้แล้วในกิจทั้งหลายทั้งปวง.

ตถาติ ยถา สีลาทโย อธิสีลสิกฺขาทีนํ ปกาสกา, ตถา เตวิชฺชตาทีนํ อุปนิสฺสยสฺสาติ เตสํ ปกาสนาการูปสํหารตฺโถ ตถา-สทฺโทฯ ยสฺมา สีลํ วิสุชฺฌมานํ สติสมฺปชญฺญพเลน, กมฺมสฺสกตญาณพเลน จ สํกิเลสมลโต วิสุชฺฌติ ปาริปูริญฺจ คจฺฉติ, ตสฺมา สีลสมฺปทา สิชฺฌมานา อุปนิสฺสยสมฺปตฺติภาเวน สติพลํ, ญาณพลญฺจ ปจฺจุปฏฺฐเปตีติ ตสฺสา วิชฺชตฺตยูปนิสฺสยตา เวทิตพฺพา สภาคเหตุสมฺปาทนโตฯ สติเนปกฺเกน หิ ปุพฺเพนิวาสวิชฺชาสิทฺธิ, สมฺปชญฺเญน สพฺพกิจฺเจสุ สุทิฏฺฐการิตาปริจเยน จุตูปปาตญาณานุพนฺธาย ทุติยวิชฺชาสิทฺธิ, วีติกฺกมาภาเวน สํกิเลสปฺปหานสพฺภาวโต วิวฏฺฏูปนิสฺสยตาวเสน อชฺฌาสยสุทฺธิยา ตติยวิชฺชาสิทฺธิฯ ปุเรตรํ สิทฺธานํ สมาธิปญฺญานํ ปาริปูริํ วินา สีลสฺส อาสวกฺขยญาณูปนิสฺสยตา สุกฺขวิปสฺสกขีณาสเวหิ ทีเปตพฺพาฯ สมาธิปญฺญา วิย อภิญฺญาปฏิสมฺภิทานํ สีลํ น สภาคเหตูติ กตฺวา วุตฺตํ ‘‘น ตโต ปร’’นฺติฯ ‘‘สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาตี’’ติ (สํ. นิ. 3.5; 4.99; เนตฺติ. 40; มิ. ป. 2.1.14) วจนโต สมาธิสมฺปทา ฉฬภิญฺญตาย อุปนิสฺสโยฯ ปญฺญา วิย ปฏิสมฺภิทานํ สมาธิ น สภาคเหตูติ วุตฺตํ ‘‘น ตโต ปร’’นฺติฯ

‘‘โยคา เว ชายเต ภูรี’’ติ (ธ. ป. 282) วจนโต ปุพฺพโยเคน, ครุวาสเทสภาสากโอสลฺลอุคฺคหปริปุจฺฉาทีหิ จ ปริภาวิตา ปญฺญาสมฺปตฺติ ปฏิสมฺภิทาปเภทสฺส อุปนิสฺสโย ปจฺเจกโพธิสมฺมาสมฺโพธิโยปิ ปญฺญาสมฺปตฺติสนฺนิสฺสยาติ ปญฺญาย อนธิคนฺตพฺพสฺส วิเสสสฺส อภาวโต, ตสฺสา จ ปฏิสมฺภิทาปเภทสฺส เอกนฺติกการณโต เหฏฺฐา วิย ‘‘น ตโต ปร’’นฺติ อวตฺวา ‘‘น อญฺเญน การเณนา’’ติ วุตฺตํฯ

เอตฺถ จ ‘‘สีลสมฺปตฺติญฺหิ นิสฺสายา’’ติ วุตฺตตฺตา ยสฺส สมาธิวิชมฺภนภูตา อนวเสสา ฉ อภิญฺญา น อิชฺฌนฺติ, ตสฺส อุกฺกฏฺฐปริจฺเฉทวเสน น สมาธิสมฺปทา อตฺถีติฯ สติปิ วิชฺชานํ อภิญฺเญกเทสภาเว สีลสมฺปตฺติสมุทาคตา เอว ติสฺโส วิชฺชา คหิตาฯ ยถา หิ ปญฺญาสมฺปตฺติสมุทาคตา จตสฺโส ปฏิสมฺภิทา อุปนิสฺสยสมฺปนฺนสฺส มคฺเคเนว อิชฺฌนฺติ, มคฺคกฺขเณ เอว ตาสํ ปฏิลภิตพฺพโต, เอวํ สีลสมฺปตฺติสมุทาคตา ติสฺโส วิชฺชา สมาธิสมฺปตฺติสมุทาคตา จ ฉ อภิญฺญา อุปนิสฺสยสมฺปนฺนสฺส มคฺเคเนว อิชฺฌนฺตีติ มคฺคาธิคเมเนว ตาสํ อธิคโม เวทิตพฺโพฯ ปจฺเจกพุทฺธานํ, สมฺมาสมฺพุทฺธานญฺจ ปจฺเจกโพธิสมฺมาสมฺโพธิสมธิคมสทิสา หิ อิเมสํ อริยานํ อิเม วิเสสาธิคมาติฯ วินยสุตฺตาภิธมฺเมสุ สมฺมาปฏิปตฺติยา เตวิชฺชตาทีนํ อุปนิสฺสยตาปิ ยถาวุตฺตวิธินา เวทิตพฺพาฯ

สมฺปนฺนสีลสฺส กามเสวนาภาวโต สีเลน ปฐมนฺตวิวชฺชนํ วุตฺตํฯ เยภุยฺเยน หิ สตฺตา กามเหตุ ปาณาติปาตาทิวเสนาปิ อสุทฺธปโยคา โหนฺติฯ ฌานสุขลาภิโน กายกิลมถสฺส สมฺภโว เอว นตฺถีติ สมาธินา ทุติยนฺตวิวชฺชนํ วุตฺตํ ฌานสมุฏฺฐานปณีตรูปผุฏกายตฺตาฯ ปญฺญายาติ มคฺคปญฺญายฯ อุกฺกฏฺฐนิทฺเทเสน หิ เอกํสโต อริยมคฺโคว มชฺฌิมา ปฏิปตฺติ นามฯ เอวํ สนฺเตปิ โลกิยปญฺญาวเสนปิ อนฺตทฺวยวิวชฺชนํ วิภาเวตพฺพํฯ

สีลํ ตํสมงฺคิโน กามสุคตีสุเยว นิพฺพตฺตาปนโต จตูหิ อปาเยหิ วิมุตฺติยา การณนฺติ อาห ‘‘สีเลน อปายสมติกฺกมนุปาโย ปกาสิโต โหตี’’ติฯ น หิ ปาณาติปาตาทิปฏิวิรติ ทุคฺคติปริกิเลสํ อาวหติฯ สมาธิ ตํสมงฺคิโน มหคฺคตภูมิยํเยว นิพฺพตฺตาปเนน สกลกามภวโต วิโมเจตีติ วุตฺตํ ‘‘สมาธินา กามธาตุสมติกฺกมนุปาโย ปกาสิโต โหตี’’ติฯ น หิ กามาวจรกมฺมสฺส อนุพลปฺปทายีนํ กามจฺฉนฺทาทีนํ วิกฺขมฺภกํ ฌานํ กามธาตุปริกิเลสาวหํ โหติฯ

น เจตฺถ อุปจารชฺฌานํ นิทสฺเสตพฺพํ, อปฺปนาสมาธิสฺส อธิปฺเปตตฺตาฯ นาปิ ‘‘สีเลเนว อติกฺกมิตพฺพสฺส อปายภวสฺส สมาธินา อติกฺกมิตพฺพตา’’ติ วจโนกาโสฯ สุคติภวมฺปิ อติกฺกมนฺตสฺส ทุคฺคติสมติกฺกมเน กา กถาติฯ สพฺพภวสมติกฺกมนุปาโยติ กามภวาทีนํ นวนฺนมฺปิ ภวานํ สมติกฺกมนุปาโย สีลสมาธีหิ อติกฺกนฺตาปิ ภวา อนติกฺกนฺตา เอว, การณสฺส อปหีนตฺตาฯ ปญฺญาย ปนสฺส สุปฺปหีนตฺตา เต สมติกฺกนฺตา เอวฯ