<HTML><iframe width="560" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/CBNrwFO0o5w?start=5344" title="YouTube video player" frameborder="0" allow="accelerometer; autoplay; clipboard-write; encrypted-media; gyroscope; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen></iframe></HTML> ยุคนัทธวรรค
ยุคนัทธกถาและยุคนัทธสูตร
มี 2 นัยหลัก คือ นัยพระอานนท์และอรรถกถา กับ นัยพระสารีบุตร [ถ้าปฏิบัติถูก จะเห็นเป็นสภาคฆฏนาของกันและกัน ไม่ขัดแย้งกันเลย]
พระอานนท์และอรรถกถา (แบบเนตติ)
- สพฺโพ โส จตูหิ มคฺเคหิ, เอเตสํ วา อญฺญตเรน(th.r.20.170.9.1) ใน ขุ.ปฏิสัมภิทามรรค
- ปุน จปรนฺติ ปุน จ อปรํ การณํ(th.r.104.530.0.3) ใน ขุ.ปฏิ.อ.
- อุคฺฆฏิตญฺญุสฺส(th.r.46.5.0.5) ใน 1. เทสนาหารวิภังค์ (ซึ่งตรงกับการขึ้นต้นของนิพพานคามินีปฏิปทาของ พ.อ.ใหญ่พะอ็อคตอยะ)
- ปุพฺพาปร(th.r.46.10.0.10) ใน 2. วิจยหารวิภังค์
- ปุพฺพาปร(th.r.46.29.0.6) ใน 6. จตุพยูหหารวิภังค์
- ปุพฺพาปร(th.r.5.279.0.15) ใน วิ.ปาฏิโมกขัฏฐปนขันธกะ และ โจทนาทิปุจฺฉาวิสฺสชฺชนา
พระสารีบุตร (แบบปฏิสัมภิทามรรค)
- องฺ.จตุก. ยุคนทฺธสุตฺตวณฺณนา(th.r.79.344.0.1)
- ขุ.ปฏิ.อ. ยุคนทฺธกถาวณฺณนา(th.r.104.530.0.3)
ถ้าเข้าใจทั้งหมดได้อะไร
- ศรัทธาเปิดใจทิ้งชีวิตให้ผู้ทรงจำพระไตรปิฎกบาลีที่ทำฌานอย่าง พะอ็อคตอยะสยาดอ
- แทงตลอดเนตติปกรณ์ได้โดยไม่ต้องทรงจำปฏินิทเทสทั้งหมด
- แทงตลอดนิกายทั้ง 5 แม้จะยังท่องจำได้ไม่ครบ เพราะเชื่อมโยงกันเป็นสภาคฆฏนาทั้งหมด ตามโครงของ ที.สี. 1. พฺรหฺมชาลสุตฺตํ(th.r.6.1.0.1) ที.สี. 2. สามญฺญผลสุตฺตํ(th.r.6.44.0.2) ที.สี. 10. สุภสุตฺตํ(th.r.6.188.0.2) ที.ม. 2. มหานิทานสุตฺตํ(th.r.7.47.0.7) ที.ม. 9 มหาสติปัฏฐานสูตร, ม.มู.มหาทุกฺขกฺขนฺธสุตฺตํ(th.r.9.118), ม.ม. จูฬสีหนาทสุตฺตํ(th.r.9.92), มหาทุกฺขกฺขนฺธสุตฺตํ(th.r.9.118), กายคตาสติสุตฺตํ(th.r.11.131) เป็นต้น
- ตรงไหนแปลผิด เห็นง่ายๆ และเข้าใจตรงกับนามรูปเกิดดับจริงๆ ว่า แก้ให้ถูกได้ไม่หมดในชาติเดียว ขุ.ปฏิ. ยุคนัทธกถา
ขุ.ปฏิ.อ. มหาสติปัฏฐานสูตร สยา มหาสติปัฏฐานสูตร จุฬา
- เลิกทะเลาะวิวาทกัน แบบใน พรหมชาลสูตรสังคีติสูตร เพราะเห็นเป็นสภาคฆฏนา ไม่ได้ยึดมั่นถือมั่นบัญญัติ และเพราะเข้าใจปุพฺพาปร(th.r.5.279.0.15) ใน วิ.ปาฏิโมกขัฏฐปนขันธกะและโจทนาทิปุจฺฉาวิสฺสชฺชนาตรงกับสภาวะที่เกิดดับจริงๆ.
เพิ่มเติม
44:16 เริ่มอธิบาย #ยุคนัทธสูตร สองนัย คือ
- นัยแรก คือ ฟังแล้วไม่บรรลุข้อแรก ให้ทำข้อสอง ถ้าเกิน 1 วัน ให้ทำข้อสาม ถ้าเกินกว่านั้นแสดงว่าติดข้อสี่ ให้ไปไล่ทำฌานไล่ตามลำดับกายคตาสติสูตรก่อน แล้วค่อยมาทำมหาสติปัฏฐานสูตร (ตัวเลข 1 วันนี้พึ่งเข้าใจหลังทำคลิปเสร็จเลยไม่ได้พูดถึงในคลิป ให้ดูตรงท้าย อ.มหาสติปัฏฐานสูตร ตรงที่ผมดูแล้วนิ่งไปตรงคำว่า ติกฺขปญฺโญ แถวๆ 01:02:00 ตรงนั้นแหละที่แสดงตัวเลขนี้ครับ ตอนแรกผมก็เข้าใจว่า ให้ลองทำวิปัสสนา 7 ปีได้ แต่พออ่านตรงนี้ คงต้องขอเปลี่ยนเป็น ให้ลองทำวิปัสสนาได้ 7 วันเท่านั้น ถ้าไม่บรรลุ ให้ไปทำสมถะตามกายคตาสติสูตรเลย เพราะตามปาฐะนั้น เทียบกับยุคนัทธวรรค จะได้เป็นว่า ติกฺขปญฺโญ อุคฆฏิตัญญู คือ ข้อแรกของยุคนัทธสูตร 1 วันบรรลุ ข้อที่สอง คือ วิปจิตัญญู ทิฏฐิจริต ปลอดนิวรณ์แต่ปัญญายังทื่ออยู่ ก็น่าจะ 7 วันบรรลุ ข้อที่สาม คือ วิปจิตัญญู ตัณหาจริต ยังมีนิวรณ์แต่ปัญญาคมกล้า ตามอรรถกถาคือให้ทำสมถวิปัสสนาทุกอารมณ์ทุกฌานสลับกันเท่ากัน ฉะนั้น คำนวนแล้ว อันนี้ต้องใช้เวลา 7 วัน ไม่เกิน 7 ปี ส่วนใครที่เกิน 7 ปี ก็เข้าข้อสี่ของยุคนัทธสูตร คือ ธัมมุทธัจจะ ซึ่งต้องมาเช็คว่า เป็นธัมมุทธัจจะแบบสมถะ หรือ แบบวิปัสสนา อีกที ครับ.)
- นัยที่สองก็คือ ตัดเอาข้อที่สามไปเข้าข้อหนึ่ง ข้อสอง และข้อสี่ไปเลย แล้วเอาข้อที่สามเป็นขณะมรรคไป.
สรุปทั้งสองนัยก็คือเรื่องเดียวกัน แต่นัยแรกเป็นสีหวิกกีฬตนัย นัยที่สองเป็นติปุกขลนัย
คลิป https://youtu.be/CBNrwFO0o5w ลิงก์บาลี https://wiki.5000y.men/ฟุตโน้ต:20:170-ยุคนัทธสูตร
ถ้ายังสงสัยตรงไหน สอบถามมาได้ตลอดครับ ถามซ้ำสักร้อยรอยพันรอบก็ได้ครับ เพราะผมก็ได้ประโยชน์จากการทบทวนเช่นกัน บางอันก็พึ่งเข้าใจตอนทบทวน ครับ