วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2020/08/14 15:22]
dhamma
วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
-=ปริจเฉทที่ ​ 20 มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส=+'''​ปริจเฉทที่ ​ 20 มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''​
  
 '''​แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า เป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก'''​ '''​แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า เป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก'''​
  
-==สัมมสนญาณกถา==+=สัมมสนญาณกถา=
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 268)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 268)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 260: บรรทัด 260:
 นัยในขันธ์ทั้งหลายอื่นมีเวทนาเป็นต้น ​ ก็เช่นเดียวกันนี้ นัยในขันธ์ทั้งหลายอื่นมีเวทนาเป็นต้น ​ ก็เช่นเดียวกันนี้
  
-===อนุปัสสนาขันธ์ 5  โดยอาการ 40===+==อนุปัสสนาขันธ์ 5  โดยอาการ 40==
  
 เพื่อมุ่งหมายให้การกำหนดรู้ ​ (คือสัมมสนญาณ) ​ โดยความไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ และไม่มีอัตตา ​ ในขันธ์ 5  (ตามที่กล่าวมา) ​ นั้นนั่นแล ​ มีความมั่นคง ​ โยคาวจรนั้นจึงกำหนดรู้ขันธ์ 5  ทั้งหลายเหล่านี้ด้วยการกำหนดรู้โดยความไม่เที่ยงเป็นต้นแม้นั้น ​ โดยประเภท ​ ซึ่งกล่าวไว้ในวิภังค์แห่งพระบาลีนี้ ​ (แปความ) ​ ว่า ​ "​พระภิกษุได้เฉพาะซึ่งขันติ ​ (ญาณ) ​ อันเป็นอนุโลม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง ?  (พระภิกษุ) ​ ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง" ​ ดังนี้ เพื่อมุ่งหมายให้การกำหนดรู้ ​ (คือสัมมสนญาณ) ​ โดยความไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ และไม่มีอัตตา ​ ในขันธ์ 5  (ตามที่กล่าวมา) ​ นั้นนั่นแล ​ มีความมั่นคง ​ โยคาวจรนั้นจึงกำหนดรู้ขันธ์ 5  ทั้งหลายเหล่านี้ด้วยการกำหนดรู้โดยความไม่เที่ยงเป็นต้นแม้นั้น ​ โดยประเภท ​ ซึ่งกล่าวไว้ในวิภังค์แห่งพระบาลีนี้ ​ (แปความ) ​ ว่า ​ "​พระภิกษุได้เฉพาะซึ่งขันติ ​ (ญาณ) ​ อันเป็นอนุโลม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง ?  (พระภิกษุ) ​ ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง" ​ ดังนี้
บรรทัด 482: บรรทัด 482:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 285)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 285)''</​fs></​sub>​
  
-===ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ 9===+==ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ 9==
  
 แต่ทว่า ​ โยคีผู้ใดเมื่อทำโยคะโดย ​ นยวิปัสสนา ​ ดังกล่าวมานั้น ​ นยวิปัสสนา ​ ไม่ถึงพร้อม ​ (คืออุทยพยญาณยังไม่เกิด) ​ โยคีผู้นั้นพึงทำอินทรีย์ (5  มีศรัทธาเป็นต้น) ​ ให้แกกล้าด้วยอาการ 9  อย่าง ​ ที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า ​ "​อินทรีย์ทั้งหลาย ​ (มีศรัทธาเป็นต้น) ​ จะแก่กล้าด้วยอาการ 9  คือ แต่ทว่า ​ โยคีผู้ใดเมื่อทำโยคะโดย ​ นยวิปัสสนา ​ ดังกล่าวมานั้น ​ นยวิปัสสนา ​ ไม่ถึงพร้อม ​ (คืออุทยพยญาณยังไม่เกิด) ​ โยคีผู้นั้นพึงทำอินทรีย์ (5  มีศรัทธาเป็นต้น) ​ ให้แกกล้าด้วยอาการ 9  อย่าง ​ ที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า ​ "​อินทรีย์ทั้งหลาย ​ (มีศรัทธาเป็นต้น) ​ จะแก่กล้าด้วยอาการ 9  คือ
บรรทัด 508: บรรทัด 508:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 286)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 286)''</​fs></​sub>​
  
-====วิธีเห็นนิพพัตติของรูป====+===วิธีเห็นนิพพัตติของรูป===
 '''​การณะ 4'''​ '''​การณะ 4'''​
  
บรรทัด 687: บรรทัด 687:
 ความจริง ​ โยคาวจรเมื่อเห็นซึ่งความเกิดของรูปด้วยอาการดังกล่าวมานี้ ​ ก็ชื่อว่ากำหนดรู้รูปตามกาล ​ (คือ ​ ในเวลาหนึ่ง) ความจริง ​ โยคาวจรเมื่อเห็นซึ่งความเกิดของรูปด้วยอาการดังกล่าวมานี้ ​ ก็ชื่อว่ากำหนดรู้รูปตามกาล ​ (คือ ​ ในเวลาหนึ่ง)
  
-====วิธีเห็นนิพพัตติของอรูป====+===วิธีเห็นนิพพัตติของอรูป===
  
 อนึ่ง ​ เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้รูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของรูปด้วย ​ ฉันใด ​ แม้เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้อรูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของอรูปไปด้วย ​ ฉันนั้น ​ และความเกิดของอรูปนั้น ​ พึงเห็นโดยทางจิตตุปบาทฝ่ายโลกิยะ 81  ดวงนั่นเอง ​ เช่นตัวอย่างดังต่อไปนี้ ​ ความจริงที่เรียกว่า ​ อรูปนี้ ​ ก็คือ ​ จิตตุปบาท 19  ประเภท ​ เกิดขึ้นก่อนในปฏิสนธิด้วยกรรมที่ประมวลไว้ในภพก่อน ​ แต่อาการเกิดของอรูปนั้น ​ พึงทราบตามนัยดังกล่าวไว้แล้วในนิทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง อนึ่ง ​ เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้รูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของรูปด้วย ​ ฉันใด ​ แม้เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้อรูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของอรูปไปด้วย ​ ฉันนั้น ​ และความเกิดของอรูปนั้น ​ พึงเห็นโดยทางจิตตุปบาทฝ่ายโลกิยะ 81  ดวงนั่นเอง ​ เช่นตัวอย่างดังต่อไปนี้ ​ ความจริงที่เรียกว่า ​ อรูปนี้ ​ ก็คือ ​ จิตตุปบาท 19  ประเภท ​ เกิดขึ้นก่อนในปฏิสนธิด้วยกรรมที่ประมวลไว้ในภพก่อน ​ แต่อาการเกิดของอรูปนั้น ​ พึงทราบตามนัยดังกล่าวไว้แล้วในนิทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง
บรรทัด 705: บรรทัด 705:
 โยคาวจรท่านหนึ่ง ​ แม้กำหนดรู้รูปตามกาล ​ (ในเวลาหนึ่ง) ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยอาการดังกล่าวนี้แล้ว ​ ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ปฏิบัติอยู่โดยลำดับ ​ (จนบรรลุอุทยพญสณขึ้นไป) ​ ก็ทำปัญญาภาวนาให้ถึงพร้อมได้ โยคาวจรท่านหนึ่ง ​ แม้กำหนดรู้รูปตามกาล ​ (ในเวลาหนึ่ง) ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยอาการดังกล่าวนี้แล้ว ​ ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ปฏิบัติอยู่โดยลำดับ ​ (จนบรรลุอุทยพญสณขึ้นไป) ​ ก็ทำปัญญาภาวนาให้ถึงพร้อมได้
  
-====สัมมสนะรูป 7 วิธี====+===สัมมสนะรูป 7 วิธี===
  
 โยคาวจรอีกท่านหนึ่งยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้วกำหนดรู้สังขารทั้งหลาย ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยทาง ​ รูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7  ในรูป) ​ และทาง ​ อรูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7 ในอรูป) โยคาวจรอีกท่านหนึ่งยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้วกำหนดรู้สังขารทั้งหลาย ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยทาง ​ รูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7  ในรูป) ​ และทาง ​ อรูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7 ในอรูป)
บรรทัด 1059: บรรทัด 1059:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 309)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 309)''</​fs></​sub>​
  
-====สัมมสนะอรูป 7 วิธี====+===สัมมสนะอรูป 7 วิธี===
  
 อนึ่ง ​ คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้ว ​ (ข้างต้น) ​ ว่า ​ "​ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้ว ​ กำหนดรู้สังขารทั้งหลาย) ​ โดยทาง ​ อรูปสัตตกะ" ​ ในคำนั้นมีมาติกาดังนี้ คือ อนึ่ง ​ คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้ว ​ (ข้างต้น) ​ ว่า ​ "​ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้ว ​ กำหนดรู้สังขารทั้งหลาย) ​ โดยทาง ​ อรูปสัตตกะ" ​ ในคำนั้นมีมาติกาดังนี้ คือ
บรรทัด 1233: บรรทัด 1233:
 ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายที่เหลือ ​ (จากที่กล่าวถึงนี้ ​ อีก 10  มีนิพพิทานุปัสสนาเป็นต้น) ​ บางญาณก็แทงทะลุ ​ (โดยเอกเทศ) ​ แล้ว ​ บางญาณก็มิได้แทงทะลุ ​ เราจักทำการจำแนกวิปัสสนาญาณทั้งหลายเหล่านั้นให้แจ่มแจ้งข้างหน้า ​ เพราะคำว่าที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วว่า ​ "​โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีทั้งรูปกัมมัฏฐานและอรูปกัมมัฏฐานคล่องแคล่วอย่างนี้ ​ เมื่อแทงตลอด ​ (รู้แจ้ง) ​ เฉพาะ ณ  ที่นี้ก่อน ​ แต่เพียงเอกเทศของ ​ มหาวิปัสสนา 18  ที่ตนพึงบรรลุโดยอาการทั้งปวงด้วยสามารถ ​ ปหานปริญญา ​ เริ่มต้นแต่ภังคานุปัสสนาญาณ ​ (โดยลำดับ) ​ ขึ้นไป ​ ก็ละธรรมซึ่งเป็นปฏิปักษ์ของ ​ มหาวิปัสสนา 18  นั้นได้" ​ นี้ข้าพเจ้าหมายถึงวิปัสสนาญาณ ​ ซึ่งโยคีท่านนี้แทงตลอดแล้วนั่นเอง ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายที่เหลือ ​ (จากที่กล่าวถึงนี้ ​ อีก 10  มีนิพพิทานุปัสสนาเป็นต้น) ​ บางญาณก็แทงทะลุ ​ (โดยเอกเทศ) ​ แล้ว ​ บางญาณก็มิได้แทงทะลุ ​ เราจักทำการจำแนกวิปัสสนาญาณทั้งหลายเหล่านั้นให้แจ่มแจ้งข้างหน้า ​ เพราะคำว่าที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วว่า ​ "​โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีทั้งรูปกัมมัฏฐานและอรูปกัมมัฏฐานคล่องแคล่วอย่างนี้ ​ เมื่อแทงตลอด ​ (รู้แจ้ง) ​ เฉพาะ ณ  ที่นี้ก่อน ​ แต่เพียงเอกเทศของ ​ มหาวิปัสสนา 18  ที่ตนพึงบรรลุโดยอาการทั้งปวงด้วยสามารถ ​ ปหานปริญญา ​ เริ่มต้นแต่ภังคานุปัสสนาญาณ ​ (โดยลำดับ) ​ ขึ้นไป ​ ก็ละธรรมซึ่งเป็นปฏิปักษ์ของ ​ มหาวิปัสสนา 18  นั้นได้" ​ นี้ข้าพเจ้าหมายถึงวิปัสสนาญาณ ​ ซึ่งโยคีท่านนี้แทงตลอดแล้วนั่นเอง
  
-==อุทยพยญาณ==+=อุทยพยญาณ=
  
-===ตรุณอุทยพญาณ===+==ตรุณอุทยพญาณ==
  
 '''​[อุทยพยญาณอย่างอ่อน]'''​ '''​[อุทยพยญาณอย่างอ่อน]'''​
บรรทัด 1315: บรรทัด 1315:
 ด้วยภาวนาวิธีเท่าที่กล่าวมานี้ ​ เป็นอันว่าโยคีท่านนี้ได้บรรลุแล้ว ​ ซึ่ง ​ ตรุณวิปัสสนาญาณ ​ (วิปัสสนาญาณอย่างอ่อน) ​ อันดับแรก ​ มีชื่อว่า ​ อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ (อย่างอ่อน) ​ ซึ่งแทงตลอดลักษณะครบถ้วน ​ 50  โดอาการนี้ว่า ​ "​สิ่งที่มีความดับไปเป็นธรรมดานั่นเองเกิดขึ้น ​ และที่เกิดขึ้นแล้ว ​ ก็ถึงความดับไป" ​ ดังนี้ ​ ซึ่งโดยเหตุที่ได้บรรลุ ​ (ตรุณวิปัสสนาญาณนี้) ​ โยคีท่านนั้นก็ถึงการนับว่า ​ "​อารทฺธวิปสฺสโก ​ -  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา"​ ด้วยภาวนาวิธีเท่าที่กล่าวมานี้ ​ เป็นอันว่าโยคีท่านนี้ได้บรรลุแล้ว ​ ซึ่ง ​ ตรุณวิปัสสนาญาณ ​ (วิปัสสนาญาณอย่างอ่อน) ​ อันดับแรก ​ มีชื่อว่า ​ อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ (อย่างอ่อน) ​ ซึ่งแทงตลอดลักษณะครบถ้วน ​ 50  โดอาการนี้ว่า ​ "​สิ่งที่มีความดับไปเป็นธรรมดานั่นเองเกิดขึ้น ​ และที่เกิดขึ้นแล้ว ​ ก็ถึงความดับไป" ​ ดังนี้ ​ ซึ่งโดยเหตุที่ได้บรรลุ ​ (ตรุณวิปัสสนาญาณนี้) ​ โยคีท่านนั้นก็ถึงการนับว่า ​ "​อารทฺธวิปสฺสโก ​ -  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา"​
  
-====วิปัสสนูปกิเลส ​ 10====+===วิปัสสนูปกิเลส ​ 10===
  
 '''​ในระยะนั้น ​ ด้วยตรุณวิปัสสนานี้ ​ วิปัสสนูปกิเลส ​ สิ่งที่ทำให้วิปัสสนาหม่นหมอง) ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา ​ ความจริง ​ วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่'''​ '''​ในระยะนั้น ​ ด้วยตรุณวิปัสสนานี้ ​ วิปัสสนูปกิเลส ​ สิ่งที่ทำให้วิปัสสนาหม่นหมอง) ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา ​ ความจริง ​ วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่'''​
บรรทัด 1485: บรรทัด 1485:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 330)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 330)''</​fs></​sub>​
  
-===พลววิปัสสนา===+==พลววิปัสสนา==
  
 แต่โยคาวจรผู้ฉลาด ​ ผู้เป็นบัณฑิต ​ เฉียบแหลม ​ ถึงพร้อมด้วยความรู้ ​ เมื่ออุปกิเลสทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น ​ ก็กำหนดรู้ ​ ใคร่ครวญเห็นมัน ​ ด้วยปัญญาดังนี้ว่า ​ "​โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแก่เราแล้ว ​ แต่โอภาสนี้นั้นแล ​ ไม่เที่ยง ​ ปัจจัยปรุงแต่งไว้ ​ อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น ​ มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา ​ มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ​ มีความคลายราคะไปเป็นธรรมดา ​ มีความดับไปเป็นธรรมดา" ​ ด้วยประการฉะนี้บ้าง ​ ก็หรือว่าโยคาวจรนั้นมีความคิดในขณะนั้นอย่างนี้ว่า ​ "​ถ้าโอภาสนี้พึงเป็นอัตตาไซร้ ​ การถือ ​ (โอภาสนั้น) ​ ว่า ​ "​อัตตา" ​ ก็ควร ​ แต่โอภาสนี้ ​ มิใช่อัตตาเลย ​ ถือว่า ​ "​เป็นอัตตา" ​ เพราะฉะนั้น ​ โอภาสนั้นเป็นอนัตตา ​ โดยความหมายว่าไม่เป็นไปในอำนาจ ​ เป็นอนิจจัง ​ โดยความหมายว่ามีแล้วหามีไม่ ​ เป็นทุกขัง ​ โดยความหมายว่าเบียดเบียนเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ" ​ ดังนี้ แต่โยคาวจรผู้ฉลาด ​ ผู้เป็นบัณฑิต ​ เฉียบแหลม ​ ถึงพร้อมด้วยความรู้ ​ เมื่ออุปกิเลสทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น ​ ก็กำหนดรู้ ​ ใคร่ครวญเห็นมัน ​ ด้วยปัญญาดังนี้ว่า ​ "​โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแก่เราแล้ว ​ แต่โอภาสนี้นั้นแล ​ ไม่เที่ยง ​ ปัจจัยปรุงแต่งไว้ ​ อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น ​ มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา ​ มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ​ มีความคลายราคะไปเป็นธรรมดา ​ มีความดับไปเป็นธรรมดา" ​ ด้วยประการฉะนี้บ้าง ​ ก็หรือว่าโยคาวจรนั้นมีความคิดในขณะนั้นอย่างนี้ว่า ​ "​ถ้าโอภาสนี้พึงเป็นอัตตาไซร้ ​ การถือ ​ (โอภาสนั้น) ​ ว่า ​ "​อัตตา" ​ ก็ควร ​ แต่โอภาสนี้ ​ มิใช่อัตตาเลย ​ ถือว่า ​ "​เป็นอัตตา" ​ เพราะฉะนั้น ​ โอภาสนั้นเป็นอนัตตา ​ โดยความหมายว่าไม่เป็นไปในอำนาจ ​ เป็นอนิจจัง ​ โดยความหมายว่ามีแล้วหามีไม่ ​ เป็นทุกขัง ​ โดยความหมายว่าเบียดเบียนเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ" ​ ดังนี้