วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2020/06/27 16:27]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
-== ปริจเฉทที่ ​ 20 มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''​=+'''​ปริจเฉทที่ ​ 20 มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''​
  
-'''​แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า'''​+'''​แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า ​เป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก'''​
  
-'''​เป็งปฏิบัติที่ถูและไมู่ก'''​+=สัมมสกถา=
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 268)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 268)''</​fs></​sub>​
  
-อนึ่ง ​ ญาณซึ่งรู้ทางถูกและทางไม่ถูกอย่างนี้ว่า ​ "​นี้เป็นทาง ​ นี้มิใช่ทาง" ​ ดังนี้ ​ ชื่อว่า ​ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ​ คือ ​ ความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่าเป็นทางปฏิบัติที่ถูและไม่ถูก +อนึ่ง ​ ญาณซึ่งรู้ทางถูกและทางไม่ถูกอย่างนี้ว่า ​ "​นี้เป็นทาง ​ นี้มิใช่ทาง" ​ ดังนี้ ​ ชื่อว่า ​ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ​ คือ ​ ความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า เป็นทางปฏิบัติที่ถูและไม่ถูก
- +
-'''​(3. ​ กลาปสัมมสนญาณ)'''​+
  
 โยคีผู้ปรารถนาเพื่อบรรลุมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ์นั้น ​ เริ่มแรกควรทำโยคะ ​ (คือการบำเพ็ญความเพียร) ​ ในนยวิปัสสนา ​ ที่เรียกว่า กลาป[สัมมสนะ] ​ (คือ ​ การกำหนดพิจารณาธรรมเป็นหมวดเป็นกอง) ​ ก่อน ​ (ถามว่า) ​ เพราะเหตุไร ?  (ตอบว่า) ​ เพราะเมื่อพระธรรมมีโอภาส ​ (แสงสว่าง) ​ เป็นต้นเกิดขึ้นแก่โยคีผู้แรกเริ่มปฏิบัติวิปัสสนา ​ มัคคามัคคญาณทัสสนะ (ความรู้ความเห็นว่าเป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก) ​ จึงเกิดขึ้น ​ ความจริง ​ เมื่อธรรมทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น ​ ท่านโยคีผู้แรกเริ่มปฏิบัติวิปัสสนา ​ ก็มีมัคคามัคคญาณอยู่ด้วย ​ ด้วยว่า ​ กลาปสัมมสนะ ​ (ญาณ) ​ เป็นญาณเริ่มต้นของวิปัสสนา ​ เพราะฉะนั้น ​ ท่านจึงยกกลาปสัมมสน ​ (ญาณ) ​ นี้ขึ้นแสดงไว้ในลำดับของกังขาวิตรณ ​ (วิสุทธิ) โยคีผู้ปรารถนาเพื่อบรรลุมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ์นั้น ​ เริ่มแรกควรทำโยคะ ​ (คือการบำเพ็ญความเพียร) ​ ในนยวิปัสสนา ​ ที่เรียกว่า กลาป[สัมมสนะ] ​ (คือ ​ การกำหนดพิจารณาธรรมเป็นหมวดเป็นกอง) ​ ก่อน ​ (ถามว่า) ​ เพราะเหตุไร ?  (ตอบว่า) ​ เพราะเมื่อพระธรรมมีโอภาส ​ (แสงสว่าง) ​ เป็นต้นเกิดขึ้นแก่โยคีผู้แรกเริ่มปฏิบัติวิปัสสนา ​ มัคคามัคคญาณทัสสนะ (ความรู้ความเห็นว่าเป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก) ​ จึงเกิดขึ้น ​ ความจริง ​ เมื่อธรรมทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น ​ ท่านโยคีผู้แรกเริ่มปฏิบัติวิปัสสนา ​ ก็มีมัคคามัคคญาณอยู่ด้วย ​ ด้วยว่า ​ กลาปสัมมสนะ ​ (ญาณ) ​ เป็นญาณเริ่มต้นของวิปัสสนา ​ เพราะฉะนั้น ​ ท่านจึงยกกลาปสัมมสน ​ (ญาณ) ​ นี้ขึ้นแสดงไว้ในลำดับของกังขาวิตรณ ​ (วิสุทธิ)
บรรทัด 262: บรรทัด 260:
 นัยในขันธ์ทั้งหลายอื่นมีเวทนาเป็นต้น ​ ก็เช่นเดียวกันนี้ นัยในขันธ์ทั้งหลายอื่นมีเวทนาเป็นต้น ​ ก็เช่นเดียวกันนี้
  
-'''​[กำหดรู้ขันธ์ 5  โดยอาการ 40]  '''​+==อุปัสสนาขันธ์ 5  โดยอาการ 40==
  
 เพื่อมุ่งหมายให้การกำหนดรู้ ​ (คือสัมมสนญาณ) ​ โดยความไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ และไม่มีอัตตา ​ ในขันธ์ 5  (ตามที่กล่าวมา) ​ นั้นนั่นแล ​ มีความมั่นคง ​ โยคาวจรนั้นจึงกำหนดรู้ขันธ์ 5  ทั้งหลายเหล่านี้ด้วยการกำหนดรู้โดยความไม่เที่ยงเป็นต้นแม้นั้น ​ โดยประเภท ​ ซึ่งกล่าวไว้ในวิภังค์แห่งพระบาลีนี้ ​ (แปความ) ​ ว่า ​ "​พระภิกษุได้เฉพาะซึ่งขันติ ​ (ญาณ) ​ อันเป็นอนุโลม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง ?  (พระภิกษุ) ​ ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง" ​ ดังนี้ เพื่อมุ่งหมายให้การกำหนดรู้ ​ (คือสัมมสนญาณ) ​ โดยความไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ และไม่มีอัตตา ​ ในขันธ์ 5  (ตามที่กล่าวมา) ​ นั้นนั่นแล ​ มีความมั่นคง ​ โยคาวจรนั้นจึงกำหนดรู้ขันธ์ 5  ทั้งหลายเหล่านี้ด้วยการกำหนดรู้โดยความไม่เที่ยงเป็นต้นแม้นั้น ​ โดยประเภท ​ ซึ่งกล่าวไว้ในวิภังค์แห่งพระบาลีนี้ ​ (แปความ) ​ ว่า ​ "​พระภิกษุได้เฉพาะซึ่งขันติ ​ (ญาณ) ​ อันเป็นอนุโลม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง ?  (พระภิกษุ) ​ ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ​ โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง" ​ ดังนี้
บรรทัด 354: บรรทัด 352:
 เมื่อเห็นขันธ์ 5  โดยความไม่เที่ยง ​ ก็ได้เฉพาะซึ่งขันติ ​ (ญาณ) ​ อันเป็นอนุโลม ​ (แก่การบรรลุอริยมรรค) ​ เมื่อเห็นว่า ​ "​ความดับของขันธ์ 5  เป็นพระนิพานเที่ยงแท้ ​ ก็ก้าวลงสู่ ​ สัมมัตตนิยาม ​ (คือ ​ อริยมรรค)" ​ ดังนี้ เมื่อเห็นขันธ์ 5  โดยความไม่เที่ยง ​ ก็ได้เฉพาะซึ่งขันติ ​ (ญาณ) ​ อันเป็นอนุโลม ​ (แก่การบรรลุอริยมรรค) ​ เมื่อเห็นว่า ​ "​ความดับของขันธ์ 5  เป็นพระนิพานเที่ยงแท้ ​ ก็ก้าวลงสู่ ​ สัมมัตตนิยาม ​ (คือ ​ อริยมรรค)" ​ ดังนี้
  
-'''​[อธิบายความอาการ 40]'''​+'''​อธิบายความอาการ 40'''​
  
 โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์ 5  เหล่านี้อย่างไร ? โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์ 5  เหล่านี้อย่างไร ?
บรรทัด 362: บรรทัด 360:
 1.    โดยไม่เที่ยง ​   เพราะไม่เป็นไปเลยที่สุด ​ และเพราะมีต้นมีปลาย 1.    โดยไม่เที่ยง ​   เพราะไม่เป็นไปเลยที่สุด ​ และเพราะมีต้นมีปลาย
  
-2.    โดยเป็นทุกข์ ​   เพราะบีบคั้นเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับและเพราะเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์+2.    โดยเป็นทุกข์ ​   เพราะบีบคั้นเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ และเพราะเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์
  
 3.    โดยเป็นโรค ​   เพราะต้องเยียวยาด้วยปัจจัยและเพราะเป็นที่เกิดของโรค 3.    โดยเป็นโรค ​   เพราะต้องเยียวยาด้วยปัจจัยและเพราะเป็นที่เกิดของโรค
บรรทัด 372: บรรทัด 370:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 281)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 281)''</​fs></​sub>​
  
-'''​6.    โดยความชั่วร้าย ​   เพราะเป็นสิ่งควรตำหนิติเตียน ​ เพราะนำมาซึ่ง'''​+6.    โดยความชั่วร้าย ​   เพราะเป็นสิ่งควรตำหนิติเตียน ​ เพราะนำมาซึ่งความเสื่อมเสีย ​ และเพราะเป็นที่ตั้งของความชั่วร้าย
  
-ความเสืมเสีย  ​และเพราะเป็นที่ต้งของความชั่ว+7.    โดยความวยไข้ ​   เพราะไ่ทำให้เกิดเสภาพ ​ ​และเพราะเป็นทัฏฐาน  ​ของความเจ็บป่ว
  
-+8.    โดยเป็นปรปักษ์ ​   เพราะไม่มีอำนาจ ​ (บังคับบัญชา) ​ และเพราะบังคับบัญชาไม่ได้
  
-'''​7.    โดยควมป่วไข้ ​   ​เพราะไม่ทำใหเกดเสีภพ  ​และเพเป็นปทัฏ'''​+9.    โดยแตกทำลาย ​   เพราะแตกทำลายไปดวยพยาธิ  ชราและ
  
-ฐาน ​ ของความเจ็บป่วย+10.    โดยความหายนะ ​   ​พราะนำมาซึงคามพินาศมากมา
  
-'''​8.    โดยเป็นปรปักษ์ ​   ​เพราะม่มีอำนจ  (บัคับบัญช)  ​และเพราะัง'''​+11.    โดยเป็นอุปัทวะ ​   ​เพราะนำาซึงสิ่งไ่เป็นประโยชน์ท่รู้ไม่ได้เลยย่างกมายและเพราะเป็นที่ตของอุปัทวันตรายทั้งปวงด้วย
  
-บบญชม่+12.    โดยเป็นภย    เพราะเป็นที่เกิดของภยทุกประการ ​ และเพราะเป็น ​ ปฏิปักษ์ต่อความอบอุนใจอย่างสูงสุด  ​กล่าวคือ ​ ความระงับทุกข์
  
-'''​9.    โดยแตกทำลาย ​   ​เพราะกทำลยไปด้วยยาธิ ​ ราและ'''​+13.    โดยเป็นอุปสรรค ​   ​เพราะติดตามมาด้วยสิ่งไม่เป็นประโชน์หลยประการ ​ เพราะประกอบด้วยโทษและเพไม่นำมาซึ่งความอดกลั้น ​ คล้ายเป็นอุปสรรค
  
-'''​10.    โดยความหายะ    ​เพราะนำมซึ่งความพินาศมามาย'''​+14.    โดยความหวั่ไหว ​   ​เพราะหวั่ไหวด้วยพยธิ ​ ชราและมรณะกับทั้งหวันไหวด้วยโลกธรรมทั้หลาย ​ มีความมีลาภและ ​ ความเสื่อมลภเป็นต้น
  
-'''​11.    โดยเป็นอทวะ ​   ​เพราะนำมาสิ่งไม่เ็นประโยชน์ที่รู้ไ่ได้'''​+15.    โดยง    ​เพราะมีปกติเข้ึงความผุพังไป ​ด้วยความพยายามและโสภาพของันเอง
  
-เลยอย่างมากมายและเพราะเป็นที่ตั้งของอุปัท +16.    โดยไม่ยั่งยืน ​    ​เพราะมีปกติร่วงหล่นไปในที่ตั้งทุกแห่ง ​  ​และเพราะไม่มีความมั่นคง
- +
-วันตรายทั้งปวงด้วย +
- +
-'''​12. ​   โดยเป็นภัย ​   เพราะเป็นที่เกิดของภัยทุกประการ ​ และเพราะ'''​ +
- +
-เป็น ​ ปฏิปักษ์ต่อความอบอุ่นใจอย่างสูงสุด ​  +
- +
-กล่าวคือ ​ ความระงับทุกข์ +
- +
-'''​13. ​   โดยเป็นอุปสรรค ​   เพราะติดตามมาด้วยสิ่งไม่เป็นประโยชน์'''​ +
- +
-หลายประการ ​ เพราะประกอบด้วยโทษ +
- +
-และเพราะไม่นำมาซึ่งความอดกลั้น ​ คล้าย +
- +
-เป็นอุปสรรค +
- +
-'''​14. ​   โดยความหวั่นไหว ​   เพราะหวั่นไหวด้วยพยาธิ ​ ชราและมรณะ'''​ +
- +
-กับทั้งหวั่นไหวด้วยโลกธรรมทั้งหลาย ​ มี +
- +
-ความมีลาภและ ​ ความเสื่อมลาภเป็นต้น +
- +
-'''​15. ​   โดยผุพัง ​   เพราะมีปกติเข้าถึงความผุพังไปด้วยความ'''​ +
- +
-พยายามและโดยสภาพของมันเอง +
- +
-'''​16.    โดยไม่ยั่งยืน ​    ​เพราะมีปกติร่วงหล่นไปในที่ตั้งทุกแห่ง ​ '''​ +
- +
-และเพราะไม่มีความมั่นคง+
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 282)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 282)''</​fs></​sub>​
  
-'''​17.    โดยไม่เป็นที่ต้านทาน ​   เพราะไม่เป็นที่ต่อต้านคุ้มครอง ​ และเพราะ'''​+17.    โดยไม่เป็นที่ต้านทาน ​   เพราะไม่เป็นที่ต่อต้านคุ้มครอง ​ และเพราะไม่ได้ความปลอดภัยที่ควรได้
  
-ไม่ไดความปลอดภัยที่ควรได้+18.    โดยไม่เป็นที่หลบลี้    ​เพระไ่เ็นที่สมควรที่หลบลี้ ​ กับทั้งเพราะผู้หลบลี้ทั้งหลายทำกิจในการหลบลี้ไม่ได้
  
-'''​18.    โดยไม่เป็นที่หลบลี้ ​   ​เพราะไม่เป็นท่สมควรที่หลบลี้  ​กับทั้งเพระ'''​+19.    โดยไม่เป็นที่พึ่ง ​   ​เพราะไม่ีความจำกัดภยแก่ผูอยู่อศัย
  
-ผู้หบลี้ทั้ลายทำกิในการหลบลี้ไ่ได้+20.    โดยเป็นของเป่า ​   เพราะว่าเปาจควมยั่งยืน ​ ความงามความสุข ​ แะความมอัตตา ​ ตากำหนคาดคะเนไว
  
-'''​19.    โดยไม่เป็นที่พึ่ง ​   เพราะไมมีความจำัดภัยแก่ผู้อย่อาศัย'''​+21.    โดยเป็นของวง    เพราะโดยเป็นของเปลานั่นเอง ​ หรือเพราะความเป็นของเล็น้อย  ​เพราะว่า  ​ม้ของเล็้อยในโลก ​ เขาเรียกกันวา  ขงว่
  
-'''​20.    โดยเป็นของเปล่า ​   ​เพราะว่างเล่าจากคว่งยืน ​ ามงาม'''​+22.    โดยเป็นของสูญ ​   ​เพราะปจาก ​ ​(อัตต)  ผู้เป็นเจ้าของ ​ ผู้อประจำ ​ ผู้สร้าง  ​ผู้เสยและผู้บ
  
-ความสุข ​ และความมีอัตตา ​ ตามกำหนด+23.    โดยไมีอัตตา ​   ​เพระไ่มีผู้เป็เจ้าของ้วยตนเองเป็นต้น
  
-าดคะเนไว้+24.    โดยเป็นโทษ ​   เพระเป็นทุกข์้วยวามเป็นไป ​ (ในภพคือสังสารวัฏ) ​ และเพราะความทุกข์ ​ (ั่นเอง) ​ เป็นโทษ ​ อีกประการหนึ่ง ​ ชื่อว่าอาทีนวะ เพราะอรรถว่าผู้ป  ผู้ถึง ​ ผู้เป็นไป ​ สู่คามยากจน ​ คำว่า ​ "​อาทีนวะ" ​ นีเป็นคำเรียกคนยากจน และแม้ว่าขันธ์ (5)  ก็เป็นสิ่งยากจนเหมือนกัน ​            ​เพราะเหตุนี้ ​ (โยคีจึงกำหนดรู้) ​ โดยความยากจน ​ เพราะเป็นเช่นกับคนยากจน
  
-'''​21.    โดยงว่าง    ​เพราะโดยเ็นของเล่านเอง  ​หรือเพราะ'''​+25.    โดยมีความราแปรยูเป็นธรรมดา เพราะมีกติแรผันไป 2  ทาง  ​ือ ​ ​ด้วยชรา ​1  และด้วยมรณะ 1
  
-ความเป็นของเล็กน้อย ​ เพราะว่า ​ แม้ของเล็ก +26.    โดยไม่มีสาระ ​   เพราะมีความอ่อนแอ ​ และเพราะหักง่ายเหมือนไม้ผุ
- +
-น้อยในโลก ​ เขาเรียกกันว่า ​ ของว่าง +
- +
-'''​22. ​   โดยเป็นของสูญ ​   เพราะปราศจาก ​ (อัตตา) ​ ผู้เป็นเจ้าของ ​ ผู้อยู่'''​ +
- +
-ประจำ ​ ผู้สร้าง ​ ผู้เสวยและผู้บงการ +
- +
-'''​23. ​   โดยไม่มีอัตตา ​   เพราะไม่มีผู้เป็นเจ้าของด้วยตนเองเป็นต้น'''​ +
- +
-'''​24. ​   โดยเป็นโทษ ​   เพราะเป็นทุกข์ด้วยความเป็นไป ​ (ในภพคือ'''​ +
- +
-สังสารวัฏ) ​ และเพราะความทุกข์ ​ (นั่นเอง) ​  +
- +
-เป็นโทษ ​ อีกประการหนึ่ง ​ ชื่อว่าอาทีนวะ +
- +
-เพราะอรรถว่าผู้ไป ​ ผู้ถึง ​ ผู้เป็นไป ​ สู่ความยาก +
- +
-จน ​ คำว่า ​ "​อาทีนวะ" ​ นี้เป็นคำเรียกคนยากจน +
- +
-และแม้ว่าขันธ์ (5)  ก็เป็นสิ่งยากจนเหมือนกัน ​            ​เพราะเหตุนี้ ​ (โยคีจึงกำหนดรู้) ​ โดยความยาก +
- +
-จน ​ เพราะเป็นเช่นกับคนยากจน +
- +
-'''​25. ​   โดยมีความปรานแปรอยู่เป็นธรรมดา'''​ +
- +
-เพราะมีปกติแปรผันไป 2  ทาง ​ คือ ​ ด้วยชรา +
- +
-1  และด้วยมรณะ 1 +
- +
-'''​26.    โดยไม่มีสาระ ​   เพราะมีความอ่อนแอ ​ และเพราะหักง่ายเหมือน'''​ +
- +
-ไม้ผุ+
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 283)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 283)''</​fs></​sub>​
  
-'''​27.    โดยเป็นต้นเหตุแห่งความชั่วร้าย'''​ +27.    โดยเป็นต้นเหตุแห่งความชั่วร้าย เพราะเป็นเหตุแห่งความชั่วร้าย
- +
-เพราะเป็นเหตุแห่งความชั่วร้าย +
- +
-'''​28. ​   โดยเป็นผู้ฆ่า ​ (ฆาตกร) ​   เพราะเป็นผู้ฆ่าความไว้วางใจเหมือนศัตรู'''​ +
- +
-ผู้มีหน้าเป็นมิตร +
- +
-'''​29. ​   โดยปราศจากความเจริญ ​   เพราะปราศจากความเจริญ ​ และเพราะให้เกิด'''​ +
- +
-ความไม่เจริญ +
- +
-'''​30. ​   โดยมีอาสวะ ​   เพราะเป็นฐานไปสู่อาสวะ'''​ +
- +
-'''​31. ​   โดยเป็นของถูกปรุงแต่งไว้ ​   เพราะเป็นสิ่งที่เหตุและปัจจัยปรุงแต่งขึ้น'''​ +
- +
-'''​32. ​   โดยเป็นเหยื่อล่อของมาร ​   เพราะเป็นเหยื่อล่อของมัจจุมารและกิเลสมาร'''​ +
- +
-'''​33–36. ​   โดยมีความเกิด ​ ความแก่ ​ ความเจ็บป่วยและความตายเป็นธรรมดา'''​ +
- +
-เพราะมีความเกิด ​ แก่ ​ เจ็บป่วยและตายเป็น+
  
-ปกติ+28.    โดยเ็นผู้ฆ่า ​ (ฆาตร)    เพราะเป็นผู้ฆ่าความไว้วางใจเหมือนศัรู ผู้มีหน้าเป็นมตร
  
-'''​37–39.    โดยมีความศก ​ ความ่ำครวญ  และความคับแค้นใจป็นธรมดา'''​+29.    โดยปราศจากความเจริญ ​   เพราะปราจากความเจญ  และเพราะให้เกิดความไม่ิญ
  
-เพราะเป็นเหตุแหงควมโศกเศร้า ​ คาม+30.    โดยมีอาสวะ ​   ​เพราะเป็นฐานไปสู
  
-ร่ำครและความค้นใจ ​   ​+31.    โดยเป็นของถูกปุงแตงไ้    เพราะเป็นสิ่งที่เหตุและจจัยปรุงต่งขึ้น
  
-'''​40.    โดยมีควหมองเป็นธรรม'''​+32.    โดยเป็นเหยื่อล่อของมาร    ​ราเป็นเหยื่อล่อของมัจจุมาและกิเลสมา
  
-พราะเป็นธรรมี่เนที่วิสัย  ​(หรืออรมณ์)  ​+33–36. ​   โดยมีความกิด ​ ควมแก่ ​ ความเจ็บป่วยแลความตายเป็นธรรมดา เพราะมความเกิด ​ แก่  บป่วยและตยเป็นปกติ
  
-ของสังิเลส ​ คือ ​ ตัณหา  ​ทิฏฐิและทุจรั้+37–39. ​   โดยมีความโศก  คมคร่ำครวญ ​ ​และความคับแค้นใเป็นธรมดา เพราะเป็นเหุแห่งความโศกเศร้า ​ ความคร่ำครวญและความคบแคนใจ ​   ​
  
-หลาย+40.    โดยมีความเศร้าหมองเป็นธรรมดา เพราะเป็นธรรมที่เป็นที่วิสัย ​ (หรืออารมณ์) ​  ​ของสังกิเลส ​ คือ ​ ตัณหา ​ ทิฏฐิและทุจริตทั้งหลาย
  
 '''​[สงเคราะห์สัมมสนะ 40  ลงในอนุปัสสนา 3]'''​ '''​[สงเคราะห์สัมมสนะ 40  ลงในอนุปัสสนา 3]'''​
บรรทัด 522: บรรทัด 438:
 แท้จริง ​ ในการกำหนดรู้ ​ (คือสัมมสนะ) ​ โดยอาการ 40  (ที่กล่าวมา) ​ นี้ ​ การกำหนดรู้โดยอาการ ​ (10  ขยายต่อไปอีก) ​ คือ แท้จริง ​ ในการกำหนดรู้ ​ (คือสัมมสนะ) ​ โดยอาการ 40  (ที่กล่าวมา) ​ นี้ ​ การกำหนดรู้โดยอาการ ​ (10  ขยายต่อไปอีก) ​ คือ
  
-โดยความไม่เที่ยง+โดยความไม่เที่ยง
  
-โดยแตกทำลาย+โดยแตกทำลาย
  
-โดยความหวั่นไหว+โดยความหวั่นไหว
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 284)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 284)''</​fs></​sub>​
  
-โดยผุพัง+โดยผุพัง
  
-โดยไม่ยั่งยืน+โดยไม่ยั่งยืน
  
-โดยความแปรผันไปเป็นธรรมดา+โดยความแปรผันไปเป็นธรรมดา
  
-โดยไม่มีสาระ+โดยไม่มีสาระ
  
-โดยปราศจากความเจริญ+โดยปราศจากความเจริญ
  
-โดยเป็นของถูกปรุงแต่งไว้+โดยเป็นของถูกปรุงแต่งไว้
  
-โดยมีความตายเป็นธรรมดา+โดยมีความตายเป็นธรรมดา
  
-'''​ในขันธ์หนึ่ง ๆ  (แต่ละขันธ์) ​ ทำเป็นอาการละ 10  (รวมทั้ง 5  ขันธ์) ​ เป็นอนิจจานุปัสสนา 50  การกำหนดรู้โดยอาการ (5  ต่อไปอีก) ​ คือ'''​+ในขันธ์หนึ่ง ๆ  (แต่ละขันธ์) ​ ทำเป็นอาการละ 10  (รวมทั้ง 5  ขันธ์) ​ เป็นอนิจจานุปัสสนา 50  การกำหนดรู้โดยอาการ (5  ต่อไปอีก) ​ คือ
  
-โดยเป็นปรปักษ์+โดยเป็นปรปักษ์
  
-โดยเป็นของเปล่า+โดยเป็นของเปล่า
  
-โดยเป็นของว่าง+โดยเป็นของว่าง
  
-โดยเป็นของสูญ+โดยเป็นของสูญ
  
-โดยไม่มีอัตตา+โดยไม่มีอัตตา
  
-'''​ในขันธ์หนึ่ง ๆ  (แต่ละขันธ์) ​ ทำเป็นอาการละ 5  (รวม 5  ขันธ์) ​ เป็นอนัตตานุปัสสนา 25'''​+ในขันธ์หนึ่ง ๆ  (แต่ละขันธ์) ​ ทำเป็นอาการละ 5  (รวม 5  ขันธ์) ​ เป็นอนัตตานุปัสสนา 25
  
 การกำหนดรู้ที่เหลือ ​ (อีก 25  อาการ) ​ กล่าวคือ ​ โดยเป็นทุกข์ ​ โดยเป็นโร5 ​ เป็นต้น ​ ในขันธ์หนึ่งๆ ​ (แต่ละขันธ์) ​ ทำเป็นอาการละ 25  (รวม 5  ขันธ์) ​ เป็นทุกขานุปัสสนา ย25  ด้วยประการฉะนี้ ​ (รวมทั้ง 3  อนุปัสสนา ​ เป็น ​ 200  อาการ) การกำหนดรู้ที่เหลือ ​ (อีก 25  อาการ) ​ กล่าวคือ ​ โดยเป็นทุกข์ ​ โดยเป็นโร5 ​ เป็นต้น ​ ในขันธ์หนึ่งๆ ​ (แต่ละขันธ์) ​ ทำเป็นอาการละ 25  (รวม 5  ขันธ์) ​ เป็นทุกขานุปัสสนา ย25  ด้วยประการฉะนี้ ​ (รวมทั้ง 3  อนุปัสสนา ​ เป็น ​ 200  อาการ)
บรรทัด 566: บรรทัด 482:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 285)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 285)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ 9]'''​+==ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ 9==
  
 แต่ทว่า ​ โยคีผู้ใดเมื่อทำโยคะโดย ​ นยวิปัสสนา ​ ดังกล่าวมานั้น ​ นยวิปัสสนา ​ ไม่ถึงพร้อม ​ (คืออุทยพยญาณยังไม่เกิด) ​ โยคีผู้นั้นพึงทำอินทรีย์ (5  มีศรัทธาเป็นต้น) ​ ให้แกกล้าด้วยอาการ 9  อย่าง ​ ที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า ​ "​อินทรีย์ทั้งหลาย ​ (มีศรัทธาเป็นต้น) ​ จะแก่กล้าด้วยอาการ 9  คือ แต่ทว่า ​ โยคีผู้ใดเมื่อทำโยคะโดย ​ นยวิปัสสนา ​ ดังกล่าวมานั้น ​ นยวิปัสสนา ​ ไม่ถึงพร้อม ​ (คืออุทยพยญาณยังไม่เกิด) ​ โยคีผู้นั้นพึงทำอินทรีย์ (5  มีศรัทธาเป็นต้น) ​ ให้แกกล้าด้วยอาการ 9  อย่าง ​ ที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า ​ "​อินทรีย์ทั้งหลาย ​ (มีศรัทธาเป็นต้น) ​ จะแก่กล้าด้วยอาการ 9  คือ
บรรทัด 586: บรรทัด 502:
 8.    ในการไม่อาลัยในร่างกายและชีวิตนั้นโยคีจะทำให้เกิดวิปัสสนาภาวนาด้วยการข่มไว้ ​ (ซึ่งทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นๆ) ​ แล้วผ่านพ้น ​ (ทุกขเวทนานั้นๆ)ออกไป 8.    ในการไม่อาลัยในร่างกายและชีวิตนั้นโยคีจะทำให้เกิดวิปัสสนาภาวนาด้วยการข่มไว้ ​ (ซึ่งทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นๆ) ​ แล้วผ่านพ้น ​ (ทุกขเวทนานั้นๆ)ออกไป
  
-9.    และด้วยการไม่ละเลิก ​ (หรือหยุดพัก) ​ เสียในระหว่าง"+9.    และด้วยการไม่ละเลิก ​ (หรือหยุดพัก) ​ เสียในระหว่าง
  
-'''​แล้ว ​ (โยคีนั้น) ​ พึงหลีกเลี่ยงอาสัปปายะ ​ (คือสิ่งไม่เป็นที่สบาย) 7  อย่าง ​ ตามนัยที่กล่าวไว้แล้วใน ​ ปฐวีกสิณนิทเทส ​ (ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค) ​ ทำสัมมสนะรูปในเวลาหนึ่ง ทำสัมมสนะอรูป ​ ในเวลาหนึ่ง ​ (คนละเวลา ​ ไม่ควรกำหนดรู้ด้วยกันในเวลาเดียวกัน)'''​+แล้ว ​ (โยคีนั้น) ​ พึงหลีกเลี่ยงอาสัปปายะ ​ (คือสิ่งไม่เป็นที่สบาย) 7  อย่าง ​ ตามนัยที่กล่าวไว้แล้วใน ​ ปฐวีกสิณนิทเทส ​ (ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค) ​ ทำสัมมสนะรูปในเวลาหนึ่ง ทำสัมมสนะอรูป ​ ในเวลาหนึ่ง ​ (คนละเวลา ​ ไม่ควรกำหนดรู้ด้วยกันในเวลาเดียวกัน)
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 286)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 286)''</​fs></​sub>​
  
-====วิธีเห็นนิพพัตติของรูป==== +===วิธีเห็นนิพพัตติของรูป=== 
-=====การณะ 4=====+'''​การณะ 4'''​
  
 โยคีย่อม[[สัมมสนะ]][[รูป]]ว่า:​ รูปย่อม[[นิพพัตติ]]ด้วยการณะ(เหตุ) 4 มีกรรมเป็นต้น. ในเหตุ 4 อย่างนั้น รูปของสัตว์ทั้งปวงย่อมนิพพัตติด้วย[[กรรม]]ตั้งแต่'''​จิตดวงที่ 1'''​ คือ: โยคีย่อม[[สัมมสนะ]][[รูป]]ว่า:​ รูปย่อม[[นิพพัตติ]]ด้วยการณะ(เหตุ) 4 มีกรรมเป็นต้น. ในเหตุ 4 อย่างนั้น รูปของสัตว์ทั้งปวงย่อมนิพพัตติด้วย[[กรรม]]ตั้งแต่'''​จิตดวงที่ 1'''​ คือ:
บรรทัด 607: บรรทัด 523:
 อนึ่ง รูป 70  ที่เกิดพร้อมกันทั้ง ​ 7  ทสกะของโอปปาติกะสัตว์ก็ดำเนินไปอย่างนั้นเช่นกัน. (ดู: [[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_17_ปัญญาภูมินิทเทส#​สังขารเป็นปัจจัยแห่งวิญญาณ|สังขารเป็นปัจจัยแห่งวิญญาณ]]) อนึ่ง รูป 70  ที่เกิดพร้อมกันทั้ง ​ 7  ทสกะของโอปปาติกะสัตว์ก็ดำเนินไปอย่างนั้นเช่นกัน. (ดู: [[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_17_ปัญญาภูมินิทเทส#​สังขารเป็นปัจจัยแห่งวิญญาณ|สังขารเป็นปัจจัยแห่งวิญญาณ]])
  
-'''​[[การจำแนกเกิดจากกรรม]]  ​'''​+'''​[การจำแนกเกิดจากกรรม]'''​
  
 ในเรื่องรูปที่เป็นไปอาศัยกรรมนั้น โยคีต้องทำความเข้าใจการจำแนก คือ ในเรื่องรูปที่เป็นไปอาศัยกรรมนั้น โยคีต้องทำความเข้าใจการจำแนก คือ
บรรทัด 657: บรรทัด 573:
 พึงเห็นความเกิดขึ้นของรูปที่เกิดจากกรรมด้วยประการดังกล่าวนี้ก่อน พึงเห็นความเกิดขึ้นของรูปที่เกิดจากกรรมด้วยประการดังกล่าวนี้ก่อน
  
-'''​[[การจำแนกรูปเกิดจากจิต]]'''​+'''​[การจำแนกรูปเกิดจากจิต]'''​
  
 แม้ในรูปเกิดจากจิตทั้งหลาย ​ ก็พึงทราบวิภาคดังนี้ ​ คือ แม้ในรูปเกิดจากจิตทั้งหลาย ​ ก็พึงทราบวิภาคดังนี้ ​ คือ
บรรทัด 675: บรรทัด 591:
 1.    จิต 89  ดวง ​ ชื่อว่า ​ จิต ​ (และ) ​ ในจิตทั้งหลาย 89  ดวงนั้น ​ (จำแนกไว้ดังนี้) 1.    จิต 89  ดวง ​ ชื่อว่า ​ จิต ​ (และ) ​ ในจิตทั้งหลาย 89  ดวงนั้น ​ (จำแนกไว้ดังนี้)
  
-ทวตตึส ​ จิตตานิ ​ ฉพพีเส –กูนวีสติ ​ โสฬส+<​blockquote>​ทวตตึส ​ จิตตานิ ​ ฉพพีเส –กูนวีสติ ​ โสฬส
  
 รูปิริยาปถวิญญตติ -    ชนกาชนกา ​ มตา. รูปิริยาปถวิญญตติ -    ชนกาชนกา ​ มตา.
บรรทัด 681: บรรทัด 597:
 '''​แปลความว่า'''​ '''​แปลความว่า'''​
  
-จิต 32  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) ​ จิต 26  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) ​ จิต +จิต 32  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) ​ จิต 26  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) ​ จิต 19  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) จิต 16  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) ​ ปรากฏว่า ​ เป็นจิตที่ทำรูป ​ ทำอิริยาบถและทำวิญญัตติให้เกิดก็มีและ ​ ไม่ทำให้เกิดก็มี</​blockquote>​
- +
-19  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) จิต 16  ดวง ​ (พวกหนึ่ง) ​ ปรากฏว่า ​ เป็น +
- +
-จิตที่ทำรูป ​ ทำอิริยาบถและทำวิญญัตติให้เกิดก็มีและ ​ ไม่ทำให้ +
- +
-เกิดก็มี+
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 289)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 289)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 705: บรรทัด 615:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 290)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 290)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[การจำแนกรูปเกิดจากอาหาร]]'''​+'''​[การจำแนกรูปเกิดจากอาหาร]'''​
  
 แม้ในรูปเกิดจากอาหารทั้งหลาย ​ ก็พึงทราบวิภาคดังนี้ ​ คือ แม้ในรูปเกิดจากอาหารทั้งหลาย ​ ก็พึงทราบวิภาคดังนี้ ​ คือ
บรรทัด 745: บรรทัด 655:
 พึงเห็นความเกิดขึ้นของรูปเกิดจากอาหารด้วยประการดังกล่าวนี้ พึงเห็นความเกิดขึ้นของรูปเกิดจากอาหารด้วยประการดังกล่าวนี้
  
-'''​[[การจำแนกรูปเกิดจากฤดู]]'''​+'''​[การจำแนกรูปเกิดจากฤดู]'''​
  
 แม้ในรูปเกิดจากฤดูทั้งหลาย ​ ก็พึงทราบวิภาคดังนี้ ​ คือ แม้ในรูปเกิดจากฤดูทั้งหลาย ​ ก็พึงทราบวิภาคดังนี้ ​ คือ
บรรทัด 757: บรรทัด 667:
 4.    อุตุปัจจยอุตุสมุฏฐาน ​   คือ ​ รูปมีฤดูซึ่งมีฤดูเป็นปัจจัยเป็นสมุฏฐาน 4.    อุตุปัจจยอุตุสมุฏฐาน ​   คือ ​ รูปมีฤดูซึ่งมีฤดูเป็นปัจจัยเป็นสมุฏฐาน
  
-5.    อุตุปัจจยอาหารสมุฏฐาน ​   คือ ​ รูปมีอาหารซึ่งมีฤดูเป็นปัจจัยเป็นสมุฏฐาน +5.    อุตุปัจจยอาหารสมุฏฐาน ​   คือ ​ รูปมีอาหารซึ่งมีฤดูเป็นปัจจัยเป็นสมุฏฐานในวิภาคนั้น
- +
-ในวิภาคนั้น+
  
 1.    เตโชธาตุมีสมุฏฐาน 4  ชื่อว่า ​ อุตุ – ฤดู ​ แต่ฤดูนี้มีอยู่ 2  อย่าง ​ ดังนี้ ​ คือ ​ ฤดูร้อน 1  ฤดูหนาว 1 1.    เตโชธาตุมีสมุฏฐาน 4  ชื่อว่า ​ อุตุ – ฤดู ​ แต่ฤดูนี้มีอยู่ 2  อย่าง ​ ดังนี้ ​ คือ ​ ฤดูร้อน 1  ฤดูหนาว 1
บรรทัด 779: บรรทัด 687:
 ความจริง ​ โยคาวจรเมื่อเห็นซึ่งความเกิดของรูปด้วยอาการดังกล่าวมานี้ ​ ก็ชื่อว่ากำหนดรู้รูปตามกาล ​ (คือ ​ ในเวลาหนึ่ง) ความจริง ​ โยคาวจรเมื่อเห็นซึ่งความเกิดของรูปด้วยอาการดังกล่าวมานี้ ​ ก็ชื่อว่ากำหนดรู้รูปตามกาล ​ (คือ ​ ในเวลาหนึ่ง)
  
-'''​[[วิธีกำหนดรู้อรูป]]'''​+===วิธีนิพพัตติของอรูป===
  
 อนึ่ง ​ เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้รูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของรูปด้วย ​ ฉันใด ​ แม้เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้อรูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของอรูปไปด้วย ​ ฉันนั้น ​ และความเกิดของอรูปนั้น ​ พึงเห็นโดยทางจิตตุปบาทฝ่ายโลกิยะ 81  ดวงนั่นเอง ​ เช่นตัวอย่างดังต่อไปนี้ ​ ความจริงที่เรียกว่า ​ อรูปนี้ ​ ก็คือ ​ จิตตุปบาท 19  ประเภท ​ เกิดขึ้นก่อนในปฏิสนธิด้วยกรรมที่ประมวลไว้ในภพก่อน ​ แต่อาการเกิดของอรูปนั้น ​ พึงทราบตามนัยดังกล่าวไว้แล้วในนิทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง อนึ่ง ​ เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้รูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของรูปด้วย ​ ฉันใด ​ แม้เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้อรูปอยู่ ​ ก็พึงเห็นความเกิดของอรูปไปด้วย ​ ฉันนั้น ​ และความเกิดของอรูปนั้น ​ พึงเห็นโดยทางจิตตุปบาทฝ่ายโลกิยะ 81  ดวงนั่นเอง ​ เช่นตัวอย่างดังต่อไปนี้ ​ ความจริงที่เรียกว่า ​ อรูปนี้ ​ ก็คือ ​ จิตตุปบาท 19  ประเภท ​ เกิดขึ้นก่อนในปฏิสนธิด้วยกรรมที่ประมวลไว้ในภพก่อน ​ แต่อาการเกิดของอรูปนั้น ​ พึงทราบตามนัยดังกล่าวไว้แล้วในนิทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง
บรรทัด 797: บรรทัด 705:
 โยคาวจรท่านหนึ่ง ​ แม้กำหนดรู้รูปตามกาล ​ (ในเวลาหนึ่ง) ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยอาการดังกล่าวนี้แล้ว ​ ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ปฏิบัติอยู่โดยลำดับ ​ (จนบรรลุอุทยพญสณขึ้นไป) ​ ก็ทำปัญญาภาวนาให้ถึงพร้อมได้ โยคาวจรท่านหนึ่ง ​ แม้กำหนดรู้รูปตามกาล ​ (ในเวลาหนึ่ง) ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยอาการดังกล่าวนี้แล้ว ​ ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ปฏิบัติอยู่โดยลำดับ ​ (จนบรรลุอุทยพญสณขึ้นไป) ​ ก็ทำปัญญาภาวนาให้ถึงพร้อมได้
  
-'''​[[ยกขึ้สู่พรไตรลักษณ์ทางรูปสัตตกะ]]'''​+===สัมมสนะรูป ​7 วิธี===
  
 โยคาวจรอีกท่านหนึ่งยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้วกำหนดรู้สังขารทั้งหลาย ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยทาง ​ รูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7  ในรูป) ​ และทาง ​ อรูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7 ในอรูป) โยคาวจรอีกท่านหนึ่งยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้วกำหนดรู้สังขารทั้งหลาย ​ (ด้วยสัมมสนญาณ) ​ โดยทาง ​ รูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7  ในรูป) ​ และทาง ​ อรูปสัตตกะ ​ (คือ ​ มนสิการโดยอาการ 7 ในอรูป)
บรรทัด 823: บรรทัด 731:
 เพราะฉะนั้น ​ ท่านโบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวไว้ว่า เพราะฉะนั้น ​ ท่านโบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวไว้ว่า
  
-อาทานนิกเขปโต ​   วยวุฑฒตถคามิโต+<​blockquote>​อาทานนิกเขปโต ​   วยวุฑฒตถคามิโต
  
 อาหารโต ​ จ  อุตุโต ​   กมมโต ​ จาปิ ​ จิตตโต อาหารโต ​ จ  อุตุโต ​   กมมโต ​ จาปิ ​ จิตตโต
บรรทัด 837: บรรทัด 745:
 เติบโตขึ้นตามวัย 1  โดยอาหาร 1  โดยฤดู 1  โดยกรรม 1 เติบโตขึ้นตามวัย 1  โดยอาหาร 1  โดยฤดู 1  โดยกรรม 1
  
-โดยจิต 1  โดยรูปธรรมดา 1+โดยจิต 1  โดยรูปธรรมดา 1</​blockquote>​
  
-'''​[[1.  โดยความยึดถือไว้และปล่อยวาง]]'''​+'''​[1. ​ โดยความยึดถือไว้และปล่อยวาง]'''​
  
 ในอาการ 7  นั้น ​ คำว่า ​ "​การยึดถือไว้" ​ หมายถึง ​ ปฏิสนธิ ​ คำว่า ​ "​ปล่อยวาง" ​ หมายถึง ​ จุติ ​ โยคาวจรกำหนดแบ่ง 100  ปี ​ (ออกเป็น 2  ตอน) ​ โดยการยึดถือไว้ ​ (ปฏิสนธิ) ​ และการปล่อยวาง ​ (จุติ) ​ เหล่านี้ ​ แล้วยกพระไตรลักษณ์เข้าในสังขารทั้งหลาย ​ (ถามว่า) ​ ยกพระ ในอาการ 7  นั้น ​ คำว่า ​ "​การยึดถือไว้" ​ หมายถึง ​ ปฏิสนธิ ​ คำว่า ​ "​ปล่อยวาง" ​ หมายถึง ​ จุติ ​ โยคาวจรกำหนดแบ่ง 100  ปี ​ (ออกเป็น 2  ตอน) ​ โดยการยึดถือไว้ ​ (ปฏิสนธิ) ​ และการปล่อยวาง ​ (จุติ) ​ เหล่านี้ ​ แล้วยกพระไตรลักษณ์เข้าในสังขารทั้งหลาย ​ (ถามว่า) ​ ยกพระ
บรรทัด 855: บรรทัด 763:
 '''​สังขารทั้งหลายว่างเปล่าจากอาการเป็นไปในอำนาจนั้นนั่นแล ​ เพราะฉะนั้นจึงเป็นอนัตตา ​ เพราะเป็นของว่างเปล่า 1  เพราะไม่มีเจ้าของ 1  เพราะไม่เป็นไปในอำนาจ 1  และเพราะปฏิเสธอัตตา 1  ฉะนี้แล'''​ '''​สังขารทั้งหลายว่างเปล่าจากอาการเป็นไปในอำนาจนั้นนั่นแล ​ เพราะฉะนั้นจึงเป็นอนัตตา ​ เพราะเป็นของว่างเปล่า 1  เพราะไม่มีเจ้าของ 1  เพราะไม่เป็นไปในอำนาจ 1  และเพราะปฏิเสธอัตตา 1  ฉะนี้แล'''​
  
-'''​[[2.  โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย]]'''​+'''​[2. ​ โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย]'''​
  
 ครั้นยกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่กำหนด 100 ปี ​ โดยการยึดถือไว้และปล่อยวางด้วยประการดังนั้นแล้ว ​ ถัดจากนั้น ​ โยคาวจรก็ยกขึ้นโดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ครั้นยกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่กำหนด 100 ปี ​ โดยการยึดถือไว้และปล่อยวางด้วยประการดังนั้นแล้ว ​ ถัดจากนั้น ​ โยคาวจรก็ยกขึ้นโดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย
บรรทัด 867: บรรทัด 775:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 296)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 296)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[จำแนก ​ 100  ปี ​ โดย 3  วัย]]'''​+'''​[จำแนก ​ 100  ปี ​ โดย 3  วัย]'''​
  
 (ตอบว่า) ​ โยคาวจรนั้นกำหนดจำแนก 100  ปีนั้นนั่นแล ​ โดย 3  วัย ​ คือ ​ โดยปฐมวัย - วัยต้น 1  มัชฌิมวัย – วัยกลาง 1  ปัจฉิมวัย – วัยสุดท้าย 1  ใน 3  วัยนั้น ​ 33  ปีข้างต้น ​ ชื่อว่าปฐมวัย 34  ปีจากนั้นไป ​ ชื่อว่ามัชฌิมวัย 33  ปีจากมัชฌิมวัยนั้นไป ​ ชื่อว่าปัจฉิมวัยฉะนี้แล ​ ครั้นกำหนดจำแนกโดย 3  วัยเหล่านี้ด้วยประการฉะนี้แล้วจึงยกขึ้นสู่พระไตรลักษณืว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในปฐมวัย ​ ไม่ทันถึงมัชฌิมวัย ​ ก็ดับไปเสียในปฐมวัยนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้นรูปนั้นเป็นสิ่งไม่เที่ยง ​ สิ่งใดไมเที่ยง ​ สิ่งนั้นเป็นทุกข์ ​ สิ่งใดเป็นทุกข์ ​ สิ่งนั้ไม่มีอัตตา แม้รุปที่เป็นไปในมัชฌิมวัย ​ ไม่ทันถึงปัจฉิมวัยนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ แม้รูป ​ นั้นก็เป็นสิ่งไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา ​ ถึงแม้รูปที่เป็นไปตลอด 33  ปีในปัจฉิมวัย ​ ชื่อว่าสามารถดำเนินไปได้ภายหลัง ​ แต่ตายแล้วหามีไม่ ​ เพราะฉะนั้น ​ แม้รูปนั้นก็ไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา" ​ ดังนี้ (ตอบว่า) ​ โยคาวจรนั้นกำหนดจำแนก 100  ปีนั้นนั่นแล ​ โดย 3  วัย ​ คือ ​ โดยปฐมวัย - วัยต้น 1  มัชฌิมวัย – วัยกลาง 1  ปัจฉิมวัย – วัยสุดท้าย 1  ใน 3  วัยนั้น ​ 33  ปีข้างต้น ​ ชื่อว่าปฐมวัย 34  ปีจากนั้นไป ​ ชื่อว่ามัชฌิมวัย 33  ปีจากมัชฌิมวัยนั้นไป ​ ชื่อว่าปัจฉิมวัยฉะนี้แล ​ ครั้นกำหนดจำแนกโดย 3  วัยเหล่านี้ด้วยประการฉะนี้แล้วจึงยกขึ้นสู่พระไตรลักษณืว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในปฐมวัย ​ ไม่ทันถึงมัชฌิมวัย ​ ก็ดับไปเสียในปฐมวัยนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้นรูปนั้นเป็นสิ่งไม่เที่ยง ​ สิ่งใดไมเที่ยง ​ สิ่งนั้นเป็นทุกข์ ​ สิ่งใดเป็นทุกข์ ​ สิ่งนั้ไม่มีอัตตา แม้รุปที่เป็นไปในมัชฌิมวัย ​ ไม่ทันถึงปัจฉิมวัยนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ แม้รูป ​ นั้นก็เป็นสิ่งไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา ​ ถึงแม้รูปที่เป็นไปตลอด 33  ปีในปัจฉิมวัย ​ ชื่อว่าสามารถดำเนินไปได้ภายหลัง ​ แต่ตายแล้วหามีไม่ ​ เพราะฉะนั้น ​ แม้รูปนั้นก็ไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา" ​ ดังนี้
  
-'''​[[จำแนก 100  ปี ​ โดยกำหนดช่วงละ 10ปี]]'''​+'''​[จำแนก 100  ปี ​ โดยกำหนดช่วงละ 10ปี]'''​
  
 ครั้นยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยทางวัยมีปฐมวัยเป็นต้น ​ อย่างนั้นแล้ว ​ โยคาวจรยกขึ้นสุ่พระไตรลักษณ์โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยช่วงละ 10  ปี ​ 10  ช่วง ​ เหล่านี้ ​ ต่อไปอีกดังนี้ ​ คือ ครั้นยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยทางวัยมีปฐมวัยเป็นต้น ​ อย่างนั้นแล้ว ​ โยคาวจรยกขึ้นสุ่พระไตรลักษณ์โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยช่วงละ 10  ปี ​ 10  ช่วง ​ เหล่านี้ ​ ต่อไปอีกดังนี้ ​ คือ
บรรทัด 903: บรรทัด 811:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 298)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 298)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[จำแนก 100  ปีเป็น 20  ส่วน]]'''​+'''​[จำแนก 100  ปีเป็น 20  ส่วน]'''​
  
 ครั้นยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ ​ โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยกำหนดช่วงละ 10  ปี ​ 10  ช่วงอย่างนั้นแล้ว ​ โยคีนั้นจึงทำ 100  ปีนั้นนั่นแหละให้เป็น ​ 20  ส่วน ​ โดย ​ (แบ่งเป็นส่วนละ) ​ 5  ปี – 5 ปี ​ แล้วยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ ​ โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัยต่อไปอีก ​ ยกขึ้นอย่างไร ?  แท้จริง ​ โยคีท่านนั้นใคร่ครวญอยู่ดังนี้ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีแรก ​ ยังไม่ทันถึงช่วง 5  ปีที่ 2  ก็ดับไปเสียในช่วง 5  ปีแรกนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ เป็นทุกขัง ​ เป็นอนัตตา ​ รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีที่ 2  ยังไม่ทันถึงช่วง 5  ปีที่ 3…..ฯลฯ…..รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีที่ 19  ยังไม่ทันถึงช่วง 5  ปีที่ 20  ก็ดับไปเสียในช่วงที่ 5  ปีที่ ย9  นั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีที่ 20  ชื่อว่าสามารถเลยไปเกินความตายหามีไม่ ​ เพราะฉะนั้น ​ แม้รูปนั้นก็เป็นอนิจจัง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา" ​ ดังนี้ ครั้นยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ ​ โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยกำหนดช่วงละ 10  ปี ​ 10  ช่วงอย่างนั้นแล้ว ​ โยคีนั้นจึงทำ 100  ปีนั้นนั่นแหละให้เป็น ​ 20  ส่วน ​ โดย ​ (แบ่งเป็นส่วนละ) ​ 5  ปี – 5 ปี ​ แล้วยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ ​ โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัยต่อไปอีก ​ ยกขึ้นอย่างไร ?  แท้จริง ​ โยคีท่านนั้นใคร่ครวญอยู่ดังนี้ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีแรก ​ ยังไม่ทันถึงช่วง 5  ปีที่ 2  ก็ดับไปเสียในช่วง 5  ปีแรกนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ เป็นทุกขัง ​ เป็นอนัตตา ​ รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีที่ 2  ยังไม่ทันถึงช่วง 5  ปีที่ 3…..ฯลฯ…..รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีที่ 19  ยังไม่ทันถึงช่วง 5  ปีที่ 20  ก็ดับไปเสียในช่วงที่ 5  ปีที่ ย9  นั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในช่วง 5  ปีที่ 20  ชื่อว่าสามารถเลยไปเกินความตายหามีไม่ ​ เพราะฉะนั้น ​ แม้รูปนั้นก็เป็นอนิจจัง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา" ​ ดังนี้
  
-'''​[[จำแนก 100  ปีออกเป็น 25, 33,  50  และ ​ 100  ส่วน]]'''​+'''​[จำแนก 100  ปีออกเป็น 25, 33,  50  และ ​ 100  ส่วน]'''​
  
 ครั้นยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยทาง ​ (จำแนก) ​ 20  ส่วนอย่างนั้นแล้ว ​ โยคีนั้นจึงทำ 100  ปี ​ นั้นให้เป็น 25  ส่วน ​ แล้วยกขึ้นโดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 4  ปี -4 ปี ​ ต่อไปอีก ​ อนึ่ง ​ แล้วทำให้เป็น 33  ส่วน…..โดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 3 ปี – 3 ปี…..ทำให้เป็น 50  ส่วน…..โดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 2 ปี ​ - 2 ปี…..ทำให้เป็น 100  ส่วน…..โดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 1  ปี ​ - 1 ปี….. ครั้นยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดยถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัย ​ โดยทาง ​ (จำแนก) ​ 20  ส่วนอย่างนั้นแล้ว ​ โยคีนั้นจึงทำ 100  ปี ​ นั้นให้เป็น 25  ส่วน ​ แล้วยกขึ้นโดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 4  ปี -4 ปี ​ ต่อไปอีก ​ อนึ่ง ​ แล้วทำให้เป็น 33  ส่วน…..โดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 3 ปี – 3 ปี…..ทำให้เป็น 50  ส่วน…..โดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 2 ปี ​ - 2 ปี…..ทำให้เป็น 100  ส่วน…..โดย ​ (แบ่งส่วนละ) ​ 1  ปี ​ - 1 ปี…..
  
-'''​[[จำแนก 1  ปี ​ ตาม 3 ฤดู]]'''​+'''​[จำแนก 1  ปี ​ ตาม 3 ฤดู]'''​
  
 จากนั้น ​ ทำปีหนึ่งๆ ​ ให้เป็น 3  ส่วน ​ แล้วยกขึ้นพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัยนั้น ​ โดยฤดู 3 ฤดู ​ คือ ​ ฤดูวัสสานะ 1  ฤดูเหมันต์ 1  ฤดูคิมหะ 1  ตามแต่ละฤดู ๆ  ยกเข้าอย่างไร ?  โยคีท่านนั้นใคร่ครวญอยู่อย่างนี้ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปตลอด 4  เดือนในฤดูวัสสานะ ​ (ฤดูฝน) ​ ยังไม่ทันถึงฤดูเหมันต์ ​ (ฤดูหนาว) ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูวัสสานะนั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในฤดูเหมันต์ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูคิมหะ ​ (ฤดูร้อน) ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดุเหมันต์นั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในฤดูคิมหะ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูวัสสานะใหม่ ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูคิมหะนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นเป็นอนิจจัง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา" ​ ดังนี้ จากนั้น ​ ทำปีหนึ่งๆ ​ ให้เป็น 3  ส่วน ​ แล้วยกขึ้นพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับของรูปที่เติบโตขึ้นตามวัยนั้น ​ โดยฤดู 3 ฤดู ​ คือ ​ ฤดูวัสสานะ 1  ฤดูเหมันต์ 1  ฤดูคิมหะ 1  ตามแต่ละฤดู ๆ  ยกเข้าอย่างไร ?  โยคีท่านนั้นใคร่ครวญอยู่อย่างนี้ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปตลอด 4  เดือนในฤดูวัสสานะ ​ (ฤดูฝน) ​ ยังไม่ทันถึงฤดูเหมันต์ ​ (ฤดูหนาว) ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูวัสสานะนั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในฤดูเหมันต์ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูคิมหะ ​ (ฤดูร้อน) ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดุเหมันต์นั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในฤดูคิมหะ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูวัสสานะใหม่ ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูคิมหะนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นเป็นอนิจจัง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา" ​ ดังนี้
บรรทัด 917: บรรทัด 825:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 299)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 299)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[จำแนก 1  ปี ​ ตามฤดู 6]]'''​+'''​[จำแนก 1  ปี ​ ตามฤดู 6]'''​
  
 ครั้นยกขึ้น ​ (โดน 3 ฤดู) ​ อย่างนั้นแล้วจึงทำ 1  ปี ​ เป็น 6  ส่วนต่อไปอีก ​ แล้วยกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับด้วยความเติบโตตามวัยนั้นอย่างนี้ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปตลอด 2  เดือน ​ ในฤดูวัสสานะ ​ (ฤดูฝน) ​ ยังไม่ทันถึงฤดูสารท ​ (ฤดูใบไม้ร่วง) ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูวัสสานะนั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในฤดูเหมันต์ ​ (ฤดูหนาว)…..รูปที่เป็นไปในฤดูเหมันต์ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูสิสิระ ​ (ฤดูเย็น)…..รูปที่เป็นไปในฤดูสิสิระ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูวัสสันต์ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูคิมหะ ​ (ฤดูร้อน)…..รูปที่เป็นฤดูคิมหะยังไม่ถึงฤดูวัสสานะ ​ ถัดไป ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูคิมหะนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็น ​ อนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้ ครั้นยกขึ้น ​ (โดน 3 ฤดู) ​ อย่างนั้นแล้วจึงทำ 1  ปี ​ เป็น 6  ส่วนต่อไปอีก ​ แล้วยกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับด้วยความเติบโตตามวัยนั้นอย่างนี้ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปตลอด 2  เดือน ​ ในฤดูวัสสานะ ​ (ฤดูฝน) ​ ยังไม่ทันถึงฤดูสารท ​ (ฤดูใบไม้ร่วง) ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูวัสสานะนั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในฤดูเหมันต์ ​ (ฤดูหนาว)…..รูปที่เป็นไปในฤดูเหมันต์ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูสิสิระ ​ (ฤดูเย็น)…..รูปที่เป็นไปในฤดูสิสิระ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูวัสสันต์ ​ ยังไม่ทันถึงฤดูคิมหะ ​ (ฤดูร้อน)…..รูปที่เป็นฤดูคิมหะยังไม่ถึงฤดูวัสสานะ ​ ถัดไป ​ ก็ดับเสียแล้วในฤดูคิมหะนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็น ​ อนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้
  
-'''​[[จำแนก 1  เดือน ​ เป็น 2  ปักษ์]] ​ '''​+'''​[จำแนก 1  เดือน ​ เป็น 2  ปักษ์]] ​ '''​
  
 ครั้นยกขึ้น ​ (โดย 6 ฤดู) ​ อย่างนั้นถูกแล้ว ​ แต่นั้นโยคีก็ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ ​ โดย ​ (จำแนก 1  เดือนเป็น) ​ ข้างแรมและข้างขึ้นว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในข้างแรม ​ ยังไม่ทันถึงข้างขึ้น…..รูปที่เป็นไปในข้างขึ้น ​ ยังไม่ทันถึงข้างแรม ​ ก็ดับเสียแล้วในข้างขึ้นนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้  ​ ครั้นยกขึ้น ​ (โดย 6 ฤดู) ​ อย่างนั้นถูกแล้ว ​ แต่นั้นโยคีก็ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ ​ โดย ​ (จำแนก 1  เดือนเป็น) ​ ข้างแรมและข้างขึ้นว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในข้างแรม ​ ยังไม่ทันถึงข้างขึ้น…..รูปที่เป็นไปในข้างขึ้น ​ ยังไม่ทันถึงข้างแรม ​ ก็ดับเสียแล้วในข้างขึ้นนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้  ​
  
-'''​[[จำแนก 1  วันเป็นกลางคืนและกลางวัน]]'''​+'''​[จำแนก 1  วันเป็นกลางคืนและกลางวัน]'''​
  
 แต่นั้น ​ โยคีก็ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดย ​ (กำหนด) ​ วันและคืนว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในกลางคืน ​ ยังไม่ทันถึงกลางวัน ​ ก็ดับเสียแล้วในกลางคืนนั้นนั่นเอง ​ แม้รูปที่เป็นไปในกลางวัน ​ ยังไม่ทันถึงกลางคืน ​ ก็ดับเสียแล้วในกลางวันนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้ แต่นั้น ​ โยคีก็ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดย ​ (กำหนด) ​ วันและคืนว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในกลางคืน ​ ยังไม่ทันถึงกลางวัน ​ ก็ดับเสียแล้วในกลางคืนนั้นนั่นเอง ​ แม้รูปที่เป็นไปในกลางวัน ​ ยังไม่ทันถึงกลางคืน ​ ก็ดับเสียแล้วในกลางวันนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้
บรรทัด 931: บรรทัด 839:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 300)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 300)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[จำแนก 1  วันเป็น 6  ส่วน]]'''​+'''​[จำแนก 1  วันเป็น 6  ส่วน]'''​
  
 แต่นั้น ​ โยคีก็ทำ ​ (จำแนก) ​ คืนและวันนั้นนั่นแลออกเป็น 6  โดยเวลามีตอนเช้าเป็นต้น ​ แล้วยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในตอนเช้า ​ ยังไม่ทันถึงตอนกลางวัน…..รูปที่เป็นไปในตอนกลางวัน ​ ยังไม่ทันถึงตอนเย็น…..รูปที่เป็นไปในตอนเย็น ​ ยังไม่ทันถึงปฐมยาม….. ​ รูปที่เป็นไปในปฐมยาม ​ ยังไม่ทันถึงมัชฌิมยาม…..รูปที่เป็นไปในมัชฌิมยาม ​ ยังไม่ทันถึงปัจฉิมยาม ​ ยังไม่ทันถึงตอนเช้าวันรุ่งขึ้น ​ ก็ดับเสียแล้วในปัจฉิมยมนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้  ​ แต่นั้น ​ โยคีก็ทำ ​ (จำแนก) ​ คืนและวันนั้นนั่นแลออกเป็น 6  โดยเวลามีตอนเช้าเป็นต้น ​ แล้วยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในตอนเช้า ​ ยังไม่ทันถึงตอนกลางวัน…..รูปที่เป็นไปในตอนกลางวัน ​ ยังไม่ทันถึงตอนเย็น…..รูปที่เป็นไปในตอนเย็น ​ ยังไม่ทันถึงปฐมยาม….. ​ รูปที่เป็นไปในปฐมยาม ​ ยังไม่ทันถึงมัชฌิมยาม…..รูปที่เป็นไปในมัชฌิมยาม ​ ยังไม่ทันถึงปัจฉิมยาม ​ ยังไม่ทันถึงตอนเช้าวันรุ่งขึ้น ​ ก็ดับเสียแล้วในปัจฉิมยมนั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้น ​ รูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้  ​
  
-'''​[[จำแนกโดยอาการ 6]] '''​+'''​[จำแนกโดยอาการ 6]] '''​
  
 ครั้นโยคีนั้นยกขึ้น ​ (สู่พระไตรลักษณ์) ​ อย่างนั้นแล้ว ​ ก็ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดยการเดินไปข้างหน้า ​ ถอยกลับ ​ แลดู ​ เหลียวดู ​ การคู้ ​ และเหยียดออก ​ (ซึ่งมือและเท้า) ​ ในรูปนั้นนั่นแหละ ​ ต่อไปอีกว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในการเดินไปข้างหน้า ​ ยังไม่ทันถอยกลับ ​ ก็ดับไปในการเดินไปข้างหน้านั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในการถอยกลับ ​ ยังไม่ทันถึงการดูแล…..รูปที่เป็นไปในการดูแล ​ ยังไม่ทันถึงการเหลียวดู ​ ยังไม่ทันถึงการคู้…..รูปที่เป็นไปในการคู้ ​ ยังไม่ทันถึงการเหยียดออกก็ดับไปในการคู้นั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้นรูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้ ครั้นโยคีนั้นยกขึ้น ​ (สู่พระไตรลักษณ์) ​ อย่างนั้นแล้ว ​ ก็ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์โดยการเดินไปข้างหน้า ​ ถอยกลับ ​ แลดู ​ เหลียวดู ​ การคู้ ​ และเหยียดออก ​ (ซึ่งมือและเท้า) ​ ในรูปนั้นนั่นแหละ ​ ต่อไปอีกว่า ​ "​รูปที่เป็นไปในการเดินไปข้างหน้า ​ ยังไม่ทันถอยกลับ ​ ก็ดับไปในการเดินไปข้างหน้านั้นนั่นเอง ​ รูปที่เป็นไปในการถอยกลับ ​ ยังไม่ทันถึงการดูแล…..รูปที่เป็นไปในการดูแล ​ ยังไม่ทันถึงการเหลียวดู ​ ยังไม่ทันถึงการคู้…..รูปที่เป็นไปในการคู้ ​ ยังไม่ทันถึงการเหยียดออกก็ดับไปในการคู้นั้นนั่นเอง ​ เพราะฉะนั้นรูปนั้นจึงเป็นอนิจจัง ​ ทุกขัง ​ อนัตตา" ​ ดังนี้
  
-'''​[[จำแนกก้าวเท้า 6  ระยะ]]'''​+'''​[จำแนกก้าวเท้า 6  ระยะ]'''​
  
 ครั้นแล้ว ​ โยคีก็ทำระยะของก้าวเท้าก้าวหนึ่งออกเป็น 6  ส่วน ​ โดย ​ (แบ่งเป็น) ครั้นแล้ว ​ โยคีก็ทำระยะของก้าวเท้าก้าวหนึ่งออกเป็น 6  ส่วน ​ โดย ​ (แบ่งเป็น)
บรรทัด 981: บรรทัด 889:
 การกำหนดรู้รูปของโยคีท่านนั้นผู้เห็นแจ้งสังขารทั้งหลายเป็นปล้อง ๆ  อย่างนี้ ​ เป็นการกำหนดรู้ที่ละเอียดอ่อน ​ ก็แล ​ ในความละเอียดอ่อน ​ ก็แล ​ ในความละเอียดอ่อนของการกำหนดรู้รูปนั้นมีอุปมาดังนี้ การกำหนดรู้รูปของโยคีท่านนั้นผู้เห็นแจ้งสังขารทั้งหลายเป็นปล้อง ๆ  อย่างนี้ ​ เป็นการกำหนดรู้ที่ละเอียดอ่อน ​ ก็แล ​ ในความละเอียดอ่อน ​ ก็แล ​ ในความละเอียดอ่อนของการกำหนดรู้รูปนั้นมีอุปมาดังนี้
  
-'''​[[อุปมาในความละเอียดอ่อนของการกำหนดรู้รูป]]'''​+'''​[อุปมาในความละเอียดอ่อนของการกำหนดรู้รูป]'''​
  
 สมมติว่า ​ ชายผู้อยู่ปลายแดนคนหนึ่ง ​ มีความเคยชินที่ทำมาแต่ใน ​ (เรื่อง) ​ ใช้ไต้ทำด้วยไม้และหญ้าเป็นต้น ​ ไม่เคยเห็นดวงประทีป ​ (ตะเกียง) ​ ครั้นมาถึงนครหลวงได้เห็นดวงประทีปที่เขาจุดไว้ในย่านการค้า ​ จึงถามบุรุษท่านหนึ่ง ​ (คนที่ 1)  ว่า ​ "​ท่านผู้เจริญ ​ นี่เขาเรียกว่าอะไร ?  น่าชอบใจจริง" ​ บุรุษผู้นั้นจึงบอกกะชายชาวปลายแดนผู้นั้นว่า ​ "​ชอบใจในสิ่งนี้หรือ ?  นี่เขาเรียกว่าดวงประทีป ​ ครั้นหมดน้ำมันและสิ้นไส้ ​ แม้แต่ทางไปของมันก็จักไม่ปรากฏ ​ (ให้เห็น)"​ บุรุษอีกผู้หนึ่ง ​ (คนที่ 2)  บอกกะชายชาวปลายแดนคนนั้นว่า ​ "​การที่ดวงประทีปไม่ปรากฏเพราะหมดน้ำมันและสิ้นไส้นี้ ​ เป็นเรื่องหยาบ ​ ความจริง ​ เมื่อไส้ ​ (ตะเกียง) ​ นี้ถูกเผาไป ๆโดยลำดับ ​ เปลวไฟจักดับไปในส่วนที่ 3  (และ) ​ ส่วนที่ 3  ยังไม่ทันถึงส่วนนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้แน่แท้" ​ บุรุษอีกผู้หนึ่ง ​ (ที่ 3)  บอกกะเขาอย่างนี้ว่า ​ "​ถึงแม้เรื่องนี้ก็ยังหยาบเหมือนกัน ​ เพราะว่าเปลวไฟจักดับไปในระหว่างองคุลีองคุลี…..ในระหว่างครึ่งองคุลีทุกครึ่งองคุลี…..ในเส้นด้าย สมมติว่า ​ ชายผู้อยู่ปลายแดนคนหนึ่ง ​ มีความเคยชินที่ทำมาแต่ใน ​ (เรื่อง) ​ ใช้ไต้ทำด้วยไม้และหญ้าเป็นต้น ​ ไม่เคยเห็นดวงประทีป ​ (ตะเกียง) ​ ครั้นมาถึงนครหลวงได้เห็นดวงประทีปที่เขาจุดไว้ในย่านการค้า ​ จึงถามบุรุษท่านหนึ่ง ​ (คนที่ 1)  ว่า ​ "​ท่านผู้เจริญ ​ นี่เขาเรียกว่าอะไร ?  น่าชอบใจจริง" ​ บุรุษผู้นั้นจึงบอกกะชายชาวปลายแดนผู้นั้นว่า ​ "​ชอบใจในสิ่งนี้หรือ ?  นี่เขาเรียกว่าดวงประทีป ​ ครั้นหมดน้ำมันและสิ้นไส้ ​ แม้แต่ทางไปของมันก็จักไม่ปรากฏ ​ (ให้เห็น)"​ บุรุษอีกผู้หนึ่ง ​ (คนที่ 2)  บอกกะชายชาวปลายแดนคนนั้นว่า ​ "​การที่ดวงประทีปไม่ปรากฏเพราะหมดน้ำมันและสิ้นไส้นี้ ​ เป็นเรื่องหยาบ ​ ความจริง ​ เมื่อไส้ ​ (ตะเกียง) ​ นี้ถูกเผาไป ๆโดยลำดับ ​ เปลวไฟจักดับไปในส่วนที่ 3  (และ) ​ ส่วนที่ 3  ยังไม่ทันถึงส่วนนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้แน่แท้" ​ บุรุษอีกผู้หนึ่ง ​ (ที่ 3)  บอกกะเขาอย่างนี้ว่า ​ "​ถึงแม้เรื่องนี้ก็ยังหยาบเหมือนกัน ​ เพราะว่าเปลวไฟจักดับไปในระหว่างองคุลีองคุลี…..ในระหว่างครึ่งองคุลีทุกครึ่งองคุลี…..ในเส้นด้าย
บรรทัด 989: บรรทัด 897:
 '''​ทุกเส้นด้าย…..ในใยด้ายทุกใยด้ายของไส้ ​ (ตะเกียง) ​ นี้ ​ ไม่ทันถึงใยด้ายนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้แน่แท้ ​ แต่พ้น ​ (ปราศจาก) ​ ใยด้ายแล้ว ​ ไม่สามารถทำเปลวไฟให้ปรากฏได้" ​ ฉะนั้นแล'''​ '''​ทุกเส้นด้าย…..ในใยด้ายทุกใยด้ายของไส้ ​ (ตะเกียง) ​ นี้ ​ ไม่ทันถึงใยด้ายนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้แน่แท้ ​ แต่พ้น ​ (ปราศจาก) ​ ใยด้ายแล้ว ​ ไม่สามารถทำเปลวไฟให้ปรากฏได้" ​ ฉะนั้นแล'''​
  
-'''​[[อุปมาอุปไมย]]'''​+'''​[อุปมาอุปไมย]'''​
  
 ในอุปมานั้น ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดย 100  ปี ​ ตั้งแต่การยึดถือไว้ ​ (ปฏิสนธิ) ​ จนถึงการปล่อยวาง ​ (จุติ) ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (คนที่1) ​ รู้ว่า ​ "​ครั้นหมดน้ำมันและสิ้นไส้ ​ แม้แต่ทางไปของดวงประทีปก็จักไม่ปรากฏ" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับด้วยการเติบโตขึ้นตามวัย ​ ซึ่งจำแนก 100  ปีออกเป็นส่วนที่ 3  และที่ 3  (3  ส่วนๆ) ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (คนที่ 2)รู้ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในส่วนที่ 3  (และ) ​ ส่วนที่ 3  ของไส้ ​ ยังไม่ทันถึงส่วนนอกนี้(และ) ​ นอกนี้" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดยช่วงละ 10 ปี ​ 5 ปี ​ 3 ปี ​ 2 ปี ​ และ 1 ปี ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (คนที่ 3)  รู้ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในระหว่างองคุลีองคุลียังไม่ทันถึงระหว่างนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งแบ่ง 1 ปี ​ ออกเป็น 3 ส่วนและ 6 ส่วน ​ ตามฤดูหนึ่งๆ ​ แล้วจำแนกเป็น 4 เดือน ​ และ 2 เดือน ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษที่ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในระหว่างครึ่งองคุลีทุกครึ่งองคุลีๆ ​ ไม่ทันถึงครึ่งองคุลีนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้เป็นแน่" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดยข้างแรมและข้างขึ้น ​ และโดยกลางคืนและกลางวัน ​ และทำคืนและวันหนึ่งเป็น 6  ส่วนแล้วกำหนดจำแนกโดยเวลามีตอนเช้าเป็นต้น ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (ที่รู้) ​ ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในเส้นด้ายทุกเส้นด้าย ​ ไม่ทันถึงเส้นด้ายนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้เป็นแน่" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดยอาการมีการเดินไปข้างหน้าเป็นต้น ​ และโดยส่วนหนึ่งๆ ​ ในระยะของก้าวเท้าก้าวหนึ่งมีการยกเท้าขึ้นเป็นต้น ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (ที่รู้) ​ ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในไยด้ายทุกไยด้าย ​ ไม่ทันถึงไยด้ายนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้แน่แท้" ​ ฉะนี้แล ในอุปมานั้น ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดย 100  ปี ​ ตั้งแต่การยึดถือไว้ ​ (ปฏิสนธิ) ​ จนถึงการปล่อยวาง ​ (จุติ) ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (คนที่1) ​ รู้ว่า ​ "​ครั้นหมดน้ำมันและสิ้นไส้ ​ แม้แต่ทางไปของดวงประทีปก็จักไม่ปรากฏ" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับด้วยการเติบโตขึ้นตามวัย ​ ซึ่งจำแนก 100  ปีออกเป็นส่วนที่ 3  และที่ 3  (3  ส่วนๆ) ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (คนที่ 2)รู้ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในส่วนที่ 3  (และ) ​ ส่วนที่ 3  ของไส้ ​ ยังไม่ทันถึงส่วนนอกนี้(และ) ​ นอกนี้" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดยช่วงละ 10 ปี ​ 5 ปี ​ 3 ปี ​ 2 ปี ​ และ 1 ปี ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (คนที่ 3)  รู้ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในระหว่างองคุลีองคุลียังไม่ทันถึงระหว่างนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งแบ่ง 1 ปี ​ ออกเป็น 3 ส่วนและ 6 ส่วน ​ ตามฤดูหนึ่งๆ ​ แล้วจำแนกเป็น 4 เดือน ​ และ 2 เดือน ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษที่ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในระหว่างครึ่งองคุลีทุกครึ่งองคุลีๆ ​ ไม่ทันถึงครึ่งองคุลีนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้เป็นแน่" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดยข้างแรมและข้างขึ้น ​ และโดยกลางคืนและกลางวัน ​ และทำคืนและวันหนึ่งเป็น 6  ส่วนแล้วกำหนดจำแนกโดยเวลามีตอนเช้าเป็นต้น ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (ที่รู้) ​ ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในเส้นด้ายทุกเส้นด้าย ​ ไม่ทันถึงเส้นด้ายนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้เป็นแน่" ​ การที่โยคียกพระไตรลักษณ์เข้าในรูปซึ่งจำแนกโดยอาการมีการเดินไปข้างหน้าเป็นต้น ​ และโดยส่วนหนึ่งๆ ​ ในระยะของก้าวเท้าก้าวหนึ่งมีการยกเท้าขึ้นเป็นต้น ​ เปรียบเหมือนความรู้ของบุรุษ ​ (ที่รู้) ​ ว่า ​ "​เปลวไฟจักดับไปในไยด้ายทุกไยด้าย ​ ไม่ทันถึงไยด้ายนอกนี้ ​ (และ) ​ นอกนี้แน่แท้" ​ ฉะนี้แล
  
-'''​[[จำแนกรูปเป็น 4  ส่วน]] ​ '''​+'''​[จำแนกรูปเป็น 4  ส่วน]] ​ '''​
  
 ครั้นโยคียกเอาพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับด้วยการเติบโตขึ้นตามวัยโดยอาการต่างๆอย่างนี้แล้ว ​ จึงจำแนกรูปนั้นนั่นแหละ ​ ทำให้เป็น 4  ส่วนโดยรูปมีรูปเกิดด้วยอาหารเป็นต้น ​ แล้วยกพระไตรลักษณ์เข้าในแต่ละส่วนเข้าไปอีก ครั้นโยคียกเอาพระไตรลักษณ์เข้าในรูปที่ถึงความแตกดับด้วยการเติบโตขึ้นตามวัยโดยอาการต่างๆอย่างนี้แล้ว ​ จึงจำแนกรูปนั้นนั่นแหละ ​ ทำให้เป็น 4  ส่วนโดยรูปมีรูปเกิดด้วยอาหารเป็นต้น ​ แล้วยกพระไตรลักษณ์เข้าในแต่ละส่วนเข้าไปอีก
บรรทัด 1151: บรรทัด 1059:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 309)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 309)''</​fs></​sub>​
  
-'''​(ยกขึ้สู่พรไตรลักษณ์ทางอรูปสัตตกะ)'''​+===สัมมสนะอรูป ​7 วิธี===
  
 อนึ่ง ​ คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้ว ​ (ข้างต้น) ​ ว่า ​ "​ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้ว ​ กำหนดรู้สังขารทั้งหลาย) ​ โดยทาง ​ อรูปสัตตกะ" ​ ในคำนั้นมีมาติกาดังนี้ คือ อนึ่ง ​ คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้ว ​ (ข้างต้น) ​ ว่า ​ "​ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้ว ​ กำหนดรู้สังขารทั้งหลาย) ​ โดยทาง ​ อรูปสัตตกะ" ​ ในคำนั้นมีมาติกาดังนี้ คือ
บรรทัด 1325: บรรทัด 1233:
 ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายที่เหลือ ​ (จากที่กล่าวถึงนี้ ​ อีก 10  มีนิพพิทานุปัสสนาเป็นต้น) ​ บางญาณก็แทงทะลุ ​ (โดยเอกเทศ) ​ แล้ว ​ บางญาณก็มิได้แทงทะลุ ​ เราจักทำการจำแนกวิปัสสนาญาณทั้งหลายเหล่านั้นให้แจ่มแจ้งข้างหน้า ​ เพราะคำว่าที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วว่า ​ "​โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีทั้งรูปกัมมัฏฐานและอรูปกัมมัฏฐานคล่องแคล่วอย่างนี้ ​ เมื่อแทงตลอด ​ (รู้แจ้ง) ​ เฉพาะ ณ  ที่นี้ก่อน ​ แต่เพียงเอกเทศของ ​ มหาวิปัสสนา 18  ที่ตนพึงบรรลุโดยอาการทั้งปวงด้วยสามารถ ​ ปหานปริญญา ​ เริ่มต้นแต่ภังคานุปัสสนาญาณ ​ (โดยลำดับ) ​ ขึ้นไป ​ ก็ละธรรมซึ่งเป็นปฏิปักษ์ของ ​ มหาวิปัสสนา 18  นั้นได้" ​ นี้ข้าพเจ้าหมายถึงวิปัสสนาญาณ ​ ซึ่งโยคีท่านนี้แทงตลอดแล้วนั่นเอง ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายที่เหลือ ​ (จากที่กล่าวถึงนี้ ​ อีก 10  มีนิพพิทานุปัสสนาเป็นต้น) ​ บางญาณก็แทงทะลุ ​ (โดยเอกเทศ) ​ แล้ว ​ บางญาณก็มิได้แทงทะลุ ​ เราจักทำการจำแนกวิปัสสนาญาณทั้งหลายเหล่านั้นให้แจ่มแจ้งข้างหน้า ​ เพราะคำว่าที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วว่า ​ "​โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีทั้งรูปกัมมัฏฐานและอรูปกัมมัฏฐานคล่องแคล่วอย่างนี้ ​ เมื่อแทงตลอด ​ (รู้แจ้ง) ​ เฉพาะ ณ  ที่นี้ก่อน ​ แต่เพียงเอกเทศของ ​ มหาวิปัสสนา 18  ที่ตนพึงบรรลุโดยอาการทั้งปวงด้วยสามารถ ​ ปหานปริญญา ​ เริ่มต้นแต่ภังคานุปัสสนาญาณ ​ (โดยลำดับ) ​ ขึ้นไป ​ ก็ละธรรมซึ่งเป็นปฏิปักษ์ของ ​ มหาวิปัสสนา 18  นั้นได้" ​ นี้ข้าพเจ้าหมายถึงวิปัสสนาญาณ ​ ซึ่งโยคีท่านนี้แทงตลอดแล้วนั่นเอง
  
-'''​(4.(ก)ตรุณอุทยพญาณ ​ ​หรือ  ​อุทยพยญาณ ​ อย่างอ่อน)'''​+=อุทยพยญาณ= 
 + 
 +==ตรุณอุทยพญาณ== 
 + 
 +'''​[อุทยพยญาณอย่างอ่อน]'''​
  
 เพราะละนิจจสัญญาเป็นต้น ​ อันเป็นปฏิปักษ์ต่อวิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ​ ด้วยประการดังกล่าวมานี้ ​ โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีญาณหมดจดวิเศษ ​ ถึงฝั่งฟากแห่ง ​ สัมมสนญาณ ​ แล้ว ​ จึงเริ่มทำโยคะเพื่อบรรลุ อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ ซึ่งท่านกล่าวไว้ในลำดับแห่งสัมสนญาณว่า ​ "​ปัญญาในการเห็นเนืองๆ ​ ซึ่งความแปรผันของปัจจุบันธรรมทั้งหลาย ​ ชื่อว่า ​ อุทยพยานุปัสสนาญา" ​ ดังนี้ ​ และเมื่อเริ่มทำ ​ ก็เริ่มต้นโดยสังเขปก่อน ​ ในการเริ่มต้นโดยสังเขปนั้น ​ มีพระบาลี ​ (แปลความ) ​ ดังต่อไปนี้ เพราะละนิจจสัญญาเป็นต้น ​ อันเป็นปฏิปักษ์ต่อวิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ​ ด้วยประการดังกล่าวมานี้ ​ โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีญาณหมดจดวิเศษ ​ ถึงฝั่งฟากแห่ง ​ สัมมสนญาณ ​ แล้ว ​ จึงเริ่มทำโยคะเพื่อบรรลุ อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ ซึ่งท่านกล่าวไว้ในลำดับแห่งสัมสนญาณว่า ​ "​ปัญญาในการเห็นเนืองๆ ​ ซึ่งความแปรผันของปัจจุบันธรรมทั้งหลาย ​ ชื่อว่า ​ อุทยพยานุปัสสนาญา" ​ ดังนี้ ​ และเมื่อเริ่มทำ ​ ก็เริ่มต้นโดยสังเขปก่อน ​ ในการเริ่มต้นโดยสังเขปนั้น ​ มีพระบาลี ​ (แปลความ) ​ ดังต่อไปนี้
บรรทัด 1335: บรรทัด 1247:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 317)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 317)''</​fs></​sub>​
  
-'''​ของรูปนั้น ​ เป็น ​ อุทยะ ​ (ความเกิดขึ้น) ​ ลักษณะแห่งความแปรผัน ​ (ของรูปนั้น) ​ เป็น ​ วยะ ​ (ความดับไป) ​ ปัญญาเห็นเนืองๆเป็น ​ ญาณ ​ เวทนาที่เกิดแล้ว…..สัญญาที่เกิดแล้ว…..สังขารที่เกิดแล้ว…..วิญญาณที่เกิดแล้ว….จักษุที่เกิดแล้ว ​ ฯลฯ ​ ภพที่เกิดแล้ว ​ เป็นปัจจุบันลักษณะแห่งความเกิดของภพนั้น ​ เป็น ​ อุทยะ ​ (ความเกิดขึ้น) ​ ลักษณะแห่งความแปรผันเป็น ​ วยะ ​ (ความดับไป) ​ ปัญญาเห็นเนืองๆเป็น ​ ญาณ" ​ ดังนี้'''​+ของรูปนั้น ​ เป็น ​ อุทยะ ​ (ความเกิดขึ้น) ​ ลักษณะแห่งความแปรผัน ​ (ของรูปนั้น) ​ เป็น ​ วยะ ​ (ความดับไป) ​ ปัญญาเห็นเนืองๆเป็น ​ ญาณ ​ เวทนาที่เกิดแล้ว…..สัญญาที่เกิดแล้ว…..สังขารที่เกิดแล้ว…..วิญญาณที่เกิดแล้ว….จักษุที่เกิดแล้ว ​ ฯลฯ ​ ภพที่เกิดแล้ว ​ เป็นปัจจุบันลักษณะแห่งความเกิดของภพนั้น ​ เป็น ​ อุทยะ ​ (ความเกิดขึ้น) ​ ลักษณะแห่งความแปรผันเป็น ​ วยะ ​ (ความดับไป) ​ ปัญญาเห็นเนืองๆเป็น ​ ญาณ" ​ ดังนี้
  
 โยคีท่านนั้นเห็นอยู่เสมอเนืองๆ ​ ซึ่งมีลักษณะแห่งความเกิด ​ ซึ่งความเกิด ​ ซึ่งความเกิดขึ้น ​ ซึ่งอาการใหม่เอี่ยมของนามและรูปที่เกิดแล้ว ​ ว่า ​ อุทยะ ​ (ความเกิดขึ้น) ​ เห็นอยู่เสมอเนืองๆ ​ ซึ่งลักษณะแห่งความแปรผัน ​ ซึ่งความสิ้นหวัง ​ ซึ่งความแตกดับไปว่า ​ วยะ ​ (ความดับไป) ​ ตามนัยแห่งพระบาลี ​ (ดังกล่าว) ​ นี้ โยคีท่านนั้นเห็นอยู่เสมอเนืองๆ ​ ซึ่งมีลักษณะแห่งความเกิด ​ ซึ่งความเกิด ​ ซึ่งความเกิดขึ้น ​ ซึ่งอาการใหม่เอี่ยมของนามและรูปที่เกิดแล้ว ​ ว่า ​ อุทยะ ​ (ความเกิดขึ้น) ​ เห็นอยู่เสมอเนืองๆ ​ ซึ่งลักษณะแห่งความแปรผัน ​ ซึ่งความสิ้นหวัง ​ ซึ่งความแตกดับไปว่า ​ วยะ ​ (ความดับไป) ​ ตามนัยแห่งพระบาลี ​ (ดังกล่าว) ​ นี้
บรรทัด 1403: บรรทัด 1315:
 ด้วยภาวนาวิธีเท่าที่กล่าวมานี้ ​ เป็นอันว่าโยคีท่านนี้ได้บรรลุแล้ว ​ ซึ่ง ​ ตรุณวิปัสสนาญาณ ​ (วิปัสสนาญาณอย่างอ่อน) ​ อันดับแรก ​ มีชื่อว่า ​ อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ (อย่างอ่อน) ​ ซึ่งแทงตลอดลักษณะครบถ้วน ​ 50  โดอาการนี้ว่า ​ "​สิ่งที่มีความดับไปเป็นธรรมดานั่นเองเกิดขึ้น ​ และที่เกิดขึ้นแล้ว ​ ก็ถึงความดับไป" ​ ดังนี้ ​ ซึ่งโดยเหตุที่ได้บรรลุ ​ (ตรุณวิปัสสนาญาณนี้) ​ โยคีท่านนั้นก็ถึงการนับว่า ​ "​อารทฺธวิปสฺสโก ​ -  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา"​ ด้วยภาวนาวิธีเท่าที่กล่าวมานี้ ​ เป็นอันว่าโยคีท่านนี้ได้บรรลุแล้ว ​ ซึ่ง ​ ตรุณวิปัสสนาญาณ ​ (วิปัสสนาญาณอย่างอ่อน) ​ อันดับแรก ​ มีชื่อว่า ​ อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ (อย่างอ่อน) ​ ซึ่งแทงตลอดลักษณะครบถ้วน ​ 50  โดอาการนี้ว่า ​ "​สิ่งที่มีความดับไปเป็นธรรมดานั่นเองเกิดขึ้น ​ และที่เกิดขึ้นแล้ว ​ ก็ถึงความดับไป" ​ ดังนี้ ​ ซึ่งโดยเหตุที่ได้บรรลุ ​ (ตรุณวิปัสสนาญาณนี้) ​ โยคีท่านนั้นก็ถึงการนับว่า ​ "​อารทฺธวิปสฺสโก ​ -  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา"​
  
-'''​[[วิปัสสนูปกิเลส ​ 10]]'''​+===วิปัสสนูปกิเลส ​ 10===
  
 '''​ในระยะนั้น ​ ด้วยตรุณวิปัสสนานี้ ​ วิปัสสนูปกิเลส ​ สิ่งที่ทำให้วิปัสสนาหม่นหมอง) ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา ​ ความจริง ​ วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่'''​ '''​ในระยะนั้น ​ ด้วยตรุณวิปัสสนานี้ ​ วิปัสสนูปกิเลส ​ สิ่งที่ทำให้วิปัสสนาหม่นหมอง) ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา ​ ความจริง ​ วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่'''​
บรรทัด 1443: บรรทัด 1355:
 ความจริง ​ ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระก็ได้กล่าวคำนี้ ​ ไว้แล้วว่า ​ "​ใจที่ถูกความฟุ้งซ่านในธรรม ​ (คืออุปกิเลส) ​ ครอบงำ ​ เป็นอย่างไร ​ ?  พระภิกษุเมื่อกระทำในใจอยู่โดยความไม่เที่ยง ​ โอภาสก็เกิดขึ้น ​ พระภิกษุนั้นรำพึงถึงโอภาสอยู่ว่า ​ "​โอภาสเป็นธรรม" ​ ความฟุ้งซ่านเพราะโอภาสเป็นเหตุนั้น ​ เป็นอุทธัจจะ ​ พระภิกษุผู้มีใจอันอุทธัจจะนั้นครอบงำแล้ว ​ ไม่กำหนดรู้ความโดยไม่เที่ยงตามเป็นจริง ​ ไม่กำหนดรู้ความปรากฏโดยความเป็นทุกข์..... ​ โดยความเป็นอนัตตาตามเป็นจริง..... ​ อนึ่ง ​ เมื่อภิกษุนั้นกระทำในใจอยู่โดยความไม่เที่ยง ​ ญาณก็เกิดขึ้น..... ​ ปีติ..... ​ ปัสสัทธิ..... ​ สุข..... ​ อธิโมกข์..... ​ ปัคคาหะ...... ​ อุปัฏฐานะ.... ​ อุเบกขา..... ​ นิกันติ ​ ก็เกิดขึ้น ​ พระภิกษุนั้นรำพึงถึงนิกันติอยู่ว่า ​ "​นิกันติเป็นธรรม" ​ ความฟุ้งซ่านเพราะนิกันติเป็นเหตุนั้นเป็นอุทธัจจะ ​ พระภิกษุผู้มีใจอันอุทธัจจะนั้นครอบงำแล้ว ​ ไม่กำหนดรู้ความปรากฏโดยความไม่เที่ยงตามเป็นจริง ​ ไม่กำหนดรู้ความปรากฏโดยความเป็นทุกข์....โดยความเป็นอนัตตาตามเป็นจริง" ​ ดังนี้ ความจริง ​ ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระก็ได้กล่าวคำนี้ ​ ไว้แล้วว่า ​ "​ใจที่ถูกความฟุ้งซ่านในธรรม ​ (คืออุปกิเลส) ​ ครอบงำ ​ เป็นอย่างไร ​ ?  พระภิกษุเมื่อกระทำในใจอยู่โดยความไม่เที่ยง ​ โอภาสก็เกิดขึ้น ​ พระภิกษุนั้นรำพึงถึงโอภาสอยู่ว่า ​ "​โอภาสเป็นธรรม" ​ ความฟุ้งซ่านเพราะโอภาสเป็นเหตุนั้น ​ เป็นอุทธัจจะ ​ พระภิกษุผู้มีใจอันอุทธัจจะนั้นครอบงำแล้ว ​ ไม่กำหนดรู้ความโดยไม่เที่ยงตามเป็นจริง ​ ไม่กำหนดรู้ความปรากฏโดยความเป็นทุกข์..... ​ โดยความเป็นอนัตตาตามเป็นจริง..... ​ อนึ่ง ​ เมื่อภิกษุนั้นกระทำในใจอยู่โดยความไม่เที่ยง ​ ญาณก็เกิดขึ้น..... ​ ปีติ..... ​ ปัสสัทธิ..... ​ สุข..... ​ อธิโมกข์..... ​ ปัคคาหะ...... ​ อุปัฏฐานะ.... ​ อุเบกขา..... ​ นิกันติ ​ ก็เกิดขึ้น ​ พระภิกษุนั้นรำพึงถึงนิกันติอยู่ว่า ​ "​นิกันติเป็นธรรม" ​ ความฟุ้งซ่านเพราะนิกันติเป็นเหตุนั้นเป็นอุทธัจจะ ​ พระภิกษุผู้มีใจอันอุทธัจจะนั้นครอบงำแล้ว ​ ไม่กำหนดรู้ความปรากฏโดยความไม่เที่ยงตามเป็นจริง ​ ไม่กำหนดรู้ความปรากฏโดยความเป็นทุกข์....โดยความเป็นอนัตตาตามเป็นจริง" ​ ดังนี้
  
-'''​[[1.  โอภาส]]'''​+'''​[1. ​ โอภาส]'''​
  
 ในอุปกิเลส ​ 10  นั้น ​ คำว่า ​ "​โอภาส ​ -  แสงสว่าง" ​ ได้แก่ ​ วิปัสสโนภาส ​ (คือแสงสว่างในวิปัสสนา) ​ เมื่อวิปัสสโนภาสนั้นเกิดขึ้น ​ โยคาวจรก็คิดว่า ​ "​แสงสว่างเห็นปานนี้ไม่เคยเกิดขึ้นแก่ฉันในกาลก่อนแต่นี้เลยหนอ ​ ฉันเป็นผู้บรรลุมรรคแล้ว ​ ฉันเป็นผู้บรรลุแล้วเป็นแน่" ​ ดังนี้แล้วถือเอาสิ่งมิใช่มรรคนั่นแหละว่า ​ "​มรรค" ​ และถือเอาสิ่งมิใช่ผลนั่นแลว่า ​ "​ผล" ​ เมื่อ ในอุปกิเลส ​ 10  นั้น ​ คำว่า ​ "​โอภาส ​ -  แสงสว่าง" ​ ได้แก่ ​ วิปัสสโนภาส ​ (คือแสงสว่างในวิปัสสนา) ​ เมื่อวิปัสสโนภาสนั้นเกิดขึ้น ​ โยคาวจรก็คิดว่า ​ "​แสงสว่างเห็นปานนี้ไม่เคยเกิดขึ้นแก่ฉันในกาลก่อนแต่นี้เลยหนอ ​ ฉันเป็นผู้บรรลุมรรคแล้ว ​ ฉันเป็นผู้บรรลุแล้วเป็นแน่" ​ ดังนี้แล้วถือเอาสิ่งมิใช่มรรคนั่นแหละว่า ​ "​มรรค" ​ และถือเอาสิ่งมิใช่ผลนั่นแลว่า ​ "​ผล" ​ เมื่อ
บรรทัด 1459: บรรทัด 1371:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 325)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 325)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[เรื่องท่านมหานาคเถระผู้อยู่ในอุจจังกวาลิก]]'''​+'''​[เรื่องท่านมหานาคเถระผู้อยู่ในอุจจังกวาลิก]'''​
  
 เล่ากันว่า ​ พระเถระท่านหนึ่งมีนามว่า ​ ท่านธัมมทินนเถระ ​ ผู้อยู่ในตลังคระ ​ เป็นพระมหาขีณาสพ ​ ผู้มีปฏิสัมภิทาแตกฉาน ​ เป็นผู้ให้โอวาทแก่พระภิกษุหมู่ใหญ่ ​ วันหนึ่ง ​ ท่านนั่งอยู่บนอาสนะสำหรับพักกลางวันของตนแล้วรำพึงอยู่ว่า ​ "​พระอาจารย์ของเราคือท่านมหานาคเถระ ​ ผู้อยู่ในอุจจังกวาลิก ​ ถึงที่สุดกิจของความเป็นสมณะแล้ว ​ หรือไม่หนอ" ​ ก็เห็นว่า ​ ท่านยังเป็นปุถุชนอยู่นั่นเอง ​ และรู้ว่า ​ "​เมื่อเราไม่ไป ​ ท่านก็จักทำกาลกิริยาของปุถุชนเป็นแท้" ​ จึงเหาะขึ้นสู่เวหาสด้วยฤทธิ์ ​ ไปลง ​ ณ  ที่ใกล้พระเถระซึ่งนั่งอยู่บนอาสนะสำหรับพักกลางวัน ​ ไหว้แสดงวัตรแล้ว ​ นั่งอยู่ ​ ณ  ด้านหนึ่ง ​ เมื่อพระเถระ ​ (ผู้เป็นพระอาจารย์) ​ พูดขึ้นว่า ​ "​อาวุโส ​ ธัมมทินนะ ​ เหตุไรจึงมาผิดเวลา ​ ?" ​ ท่านจึงกราบเรียนว่า ​ "​กระผมมาเพื่อถามปัญหาขอรับ" ​ ครั้นแล้ว ​ เมื่อพระเถระกล่าวอนุญาตว่า ​ "​ถามเถิด ​ อาวุโส ​ เมื่อรู้ก็จักบอก" ​ ท่านธัมมทินนเถระจึงเรียกถามปัญหา ​ 1.000  ปัญหา ​ พระเถระก็กล่าวแก้ปัญหาที่ถามมา ​ ๆ  ได้ไม่ติดขัดเลย ​ จากนั้น ​ เมื่อท่านธัมมทินนเถระเรียนถามว่า ​ "​ความรู้ของท่านอาจารย์แก่กล้ามาก ​ ท่านอาจารย์ได้บรรลุธรรมนี้แต่เมื่อไร" ​ พระเถระก็กล่าวว่า ​ "​ในกาลแต่บัดนี้ไป ​ 60  ปี ​ อาวุโส" ​ จึงกล่าวเรียนว่า ​ "​โปรดใช้สมาธิเถอะ ​ ขอรับ" ​ พระเถระบอกว่า ​ "​เรื่องนี้ไม่หนักหนาอะไร ​ อาวุโส" ​ ท่านธัมมทินนเถระกราบเรียนว่า ​ "​ถ้ากระนั้น ​ นิมนต์นิรมิตช้างขึ้นสักเชือกเถิด ​ ขอรับ" ​ พระเถระก็นิรมิตช้างเผือกตลอกตลอดทั้งตัวขึ้น ​ ท่านธัมมทินนเถระจึงกราบเรียนว่า ​ "​ท่านขอรับ ​ คราวนี้ ​ โปรดทำให้ช้างตัวนี้นั้นกางหูเหยียดหาง ​ เอาวงใสไว้ในปาก ​ ทำเสียงโกญจนาทอย่างน่ากลัว ​ หันหน้าเดินตรงมาหาท่านอาจารย์" ​ พระเถระก็ทำอย่างนั้น ​ ครั้นเห็นอาการอันน่ากลัวของช้างเดินมาโดยเร็ว ​ ก็ลุกขึ้นเริ่มจะหนีไป ​ พระเถระผู้ขีณาสพจึงยื่นมือไปเหนี่ยวชายจีวรไว้ ​ แล้วกราบเรียนท่านอาจารย์นั้นว่า ​ "​ท่านขอรับ ​ ชื่อว่าความหวาดกลัวยังมีอยู่แก่พระขีณาสพหรือ" ​ พระเถระนั้นจึงรู้ในเวลานั้นว่าตนยังเป็นปุถุชน ​ แล้วพูดว่า ​ "​อาวุโสธัมมทินนะ ​ โปรดเป็นที่พึงของฉันด้วย" ​ นั่งกระหย่ง ​ ณ  ใกล้เท้าท่านธัมมทินนเถระจึงกราบเรียนว่า ​ "​ข้าแต่ท่านอาจารย์ ​ กระผมก็มาด้วยตั้งใจจักเป็นที่พึ่งของท่านอาจารย์อยู่แล้ว ​ โปรดอย่าคิดไปเลย" ​ แล้วก็บอกกัมมัฏฐาน ​ (แก่พระเถระผู้เป็นอาจารย์) ​ พระเถระรับกัมมัฏฐานแล้ว ​ ก็ขึ้นสู่ที่จงกรม ​ ในวาระย่างเท้าก้าวที่ ​ 3  (ท่าน) ​ ก็บรรลุพระอรหัตตผลซึ่งเป็นผลชั้นยอด ​ เขาว่า ​ พระเถระเป็นคนโทสจริต ​ พระภิกษุทั้งหลายเห็นปาน ​ (ดังพระเถระ) ​ นี้มัวเคลิบเคลิ้มอยู่ในโอภาสไปเสีย เล่ากันว่า ​ พระเถระท่านหนึ่งมีนามว่า ​ ท่านธัมมทินนเถระ ​ ผู้อยู่ในตลังคระ ​ เป็นพระมหาขีณาสพ ​ ผู้มีปฏิสัมภิทาแตกฉาน ​ เป็นผู้ให้โอวาทแก่พระภิกษุหมู่ใหญ่ ​ วันหนึ่ง ​ ท่านนั่งอยู่บนอาสนะสำหรับพักกลางวันของตนแล้วรำพึงอยู่ว่า ​ "​พระอาจารย์ของเราคือท่านมหานาคเถระ ​ ผู้อยู่ในอุจจังกวาลิก ​ ถึงที่สุดกิจของความเป็นสมณะแล้ว ​ หรือไม่หนอ" ​ ก็เห็นว่า ​ ท่านยังเป็นปุถุชนอยู่นั่นเอง ​ และรู้ว่า ​ "​เมื่อเราไม่ไป ​ ท่านก็จักทำกาลกิริยาของปุถุชนเป็นแท้" ​ จึงเหาะขึ้นสู่เวหาสด้วยฤทธิ์ ​ ไปลง ​ ณ  ที่ใกล้พระเถระซึ่งนั่งอยู่บนอาสนะสำหรับพักกลางวัน ​ ไหว้แสดงวัตรแล้ว ​ นั่งอยู่ ​ ณ  ด้านหนึ่ง ​ เมื่อพระเถระ ​ (ผู้เป็นพระอาจารย์) ​ พูดขึ้นว่า ​ "​อาวุโส ​ ธัมมทินนะ ​ เหตุไรจึงมาผิดเวลา ​ ?" ​ ท่านจึงกราบเรียนว่า ​ "​กระผมมาเพื่อถามปัญหาขอรับ" ​ ครั้นแล้ว ​ เมื่อพระเถระกล่าวอนุญาตว่า ​ "​ถามเถิด ​ อาวุโส ​ เมื่อรู้ก็จักบอก" ​ ท่านธัมมทินนเถระจึงเรียกถามปัญหา ​ 1.000  ปัญหา ​ พระเถระก็กล่าวแก้ปัญหาที่ถามมา ​ ๆ  ได้ไม่ติดขัดเลย ​ จากนั้น ​ เมื่อท่านธัมมทินนเถระเรียนถามว่า ​ "​ความรู้ของท่านอาจารย์แก่กล้ามาก ​ ท่านอาจารย์ได้บรรลุธรรมนี้แต่เมื่อไร" ​ พระเถระก็กล่าวว่า ​ "​ในกาลแต่บัดนี้ไป ​ 60  ปี ​ อาวุโส" ​ จึงกล่าวเรียนว่า ​ "​โปรดใช้สมาธิเถอะ ​ ขอรับ" ​ พระเถระบอกว่า ​ "​เรื่องนี้ไม่หนักหนาอะไร ​ อาวุโส" ​ ท่านธัมมทินนเถระกราบเรียนว่า ​ "​ถ้ากระนั้น ​ นิมนต์นิรมิตช้างขึ้นสักเชือกเถิด ​ ขอรับ" ​ พระเถระก็นิรมิตช้างเผือกตลอกตลอดทั้งตัวขึ้น ​ ท่านธัมมทินนเถระจึงกราบเรียนว่า ​ "​ท่านขอรับ ​ คราวนี้ ​ โปรดทำให้ช้างตัวนี้นั้นกางหูเหยียดหาง ​ เอาวงใสไว้ในปาก ​ ทำเสียงโกญจนาทอย่างน่ากลัว ​ หันหน้าเดินตรงมาหาท่านอาจารย์" ​ พระเถระก็ทำอย่างนั้น ​ ครั้นเห็นอาการอันน่ากลัวของช้างเดินมาโดยเร็ว ​ ก็ลุกขึ้นเริ่มจะหนีไป ​ พระเถระผู้ขีณาสพจึงยื่นมือไปเหนี่ยวชายจีวรไว้ ​ แล้วกราบเรียนท่านอาจารย์นั้นว่า ​ "​ท่านขอรับ ​ ชื่อว่าความหวาดกลัวยังมีอยู่แก่พระขีณาสพหรือ" ​ พระเถระนั้นจึงรู้ในเวลานั้นว่าตนยังเป็นปุถุชน ​ แล้วพูดว่า ​ "​อาวุโสธัมมทินนะ ​ โปรดเป็นที่พึงของฉันด้วย" ​ นั่งกระหย่ง ​ ณ  ใกล้เท้าท่านธัมมทินนเถระจึงกราบเรียนว่า ​ "​ข้าแต่ท่านอาจารย์ ​ กระผมก็มาด้วยตั้งใจจักเป็นที่พึ่งของท่านอาจารย์อยู่แล้ว ​ โปรดอย่าคิดไปเลย" ​ แล้วก็บอกกัมมัฏฐาน ​ (แก่พระเถระผู้เป็นอาจารย์) ​ พระเถระรับกัมมัฏฐานแล้ว ​ ก็ขึ้นสู่ที่จงกรม ​ ในวาระย่างเท้าก้าวที่ ​ 3  (ท่าน) ​ ก็บรรลุพระอรหัตตผลซึ่งเป็นผลชั้นยอด ​ เขาว่า ​ พระเถระเป็นคนโทสจริต ​ พระภิกษุทั้งหลายเห็นปาน ​ (ดังพระเถระ) ​ นี้มัวเคลิบเคลิ้มอยู่ในโอภาสไปเสีย
บรรทัด 1465: บรรทัด 1377:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 326)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 326)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[2.  ญาณ]]'''​+'''​[2. ​ ญาณ]'''​
  
 คำว่า ​ "​ญาณ" ​ หมายถึง ​ วิปัสสนาญาณ ​ ทราบว่า ​ เมื่อโยคีนั้นกำลังเทียบเคียงไตร่ตรองรูปธรรมและอรูปธรรม ​ (รูปและนาม) ​ ทั้งหลายอยู่ ​ ญาณซึ่งมีกระแสปราดเปรียวแหลมคม ​ แก่กล้า ​ ชัดแจ้ง ​ ก็เกิดขึ้น ​ ประดุจดังวชิระของพระอินทร์ที่ทรงซัดออกไป คำว่า ​ "​ญาณ" ​ หมายถึง ​ วิปัสสนาญาณ ​ ทราบว่า ​ เมื่อโยคีนั้นกำลังเทียบเคียงไตร่ตรองรูปธรรมและอรูปธรรม ​ (รูปและนาม) ​ ทั้งหลายอยู่ ​ ญาณซึ่งมีกระแสปราดเปรียวแหลมคม ​ แก่กล้า ​ ชัดแจ้ง ​ ก็เกิดขึ้น ​ ประดุจดังวชิระของพระอินทร์ที่ทรงซัดออกไป
  
-'''​[[3.  ปีติ]]'''​+'''​[3. ​ ปีติ]'''​
  
 คำว่า ​ "​ปีติ" ​ หมายถึง ​ ปีติประกอบด้วยวิปัสสนา ​ ทราบว่าในระยะนั้น ​ ปีติ ​ 5  อย่างนี้ ​ คือ คำว่า ​ "​ปีติ" ​ หมายถึง ​ ปีติประกอบด้วยวิปัสสนา ​ ทราบว่าในระยะนั้น ​ ปีติ ​ 5  อย่างนี้ ​ คือ
บรรทัด 1485: บรรทัด 1397:
 '''​เกิดขึ้นเต็มสรีรกายทั้งสิ้น'''​ '''​เกิดขึ้นเต็มสรีรกายทั้งสิ้น'''​
  
-'''​[[4.  ปัสสัทธิ]]'''​+'''​[4. ​ ปัสสัทธิ]'''​
  
 คำว่า ​ "​ปัสสัทธิ" ​ หมายถึง ​ ปัสสัทธิในวิปัสสนา ​ ทราบว่า ​ เมื่อโยคีนั่งอยู่ในที่พักกลางคืนก็ดี ​ ในที่พักกลางวันก็ดี ​ ในสมัยนั้น ​ ทั้งกายและจิตไม่มีความกระวนกระวาย ​ 1  ไม่มีความหนัก ​ 1  ไม่มีความกระด้าง ​ 1  ไม่มีความไม่ควรแก่งาน ​ (ในการปฏิบัติ) ​ 1  ไม่มีความเจ็บไข้ ​ 1  ไม่มีความคดโกง ​ 1  แต่ทว่าในสมัยนั้นแล ​ กายและจิตของโยคีนั้น ​ สงบ ​ 1  เบา ​ 1  อ่อน ​ 1  ควรแก่งาน ​ 1  ผ่องใส ​ 1  เที่ยงตรง ​ 1  เป็นแท้เลย ​ โยคีนั่นเป็นผู้มีกายและใจอันธรรมทั้งหลายมีปัสสัทธิเป็นต้นเหล่านี้อนุเคราะห์แล้ว ​ ในสมัยนั้นก็เสวยความยินดีที่เรียกว่า ​ มิใช่ของมีอยู่ในมนุษย์ ​ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสระบุถึงไว้ว่า คำว่า ​ "​ปัสสัทธิ" ​ หมายถึง ​ ปัสสัทธิในวิปัสสนา ​ ทราบว่า ​ เมื่อโยคีนั่งอยู่ในที่พักกลางคืนก็ดี ​ ในที่พักกลางวันก็ดี ​ ในสมัยนั้น ​ ทั้งกายและจิตไม่มีความกระวนกระวาย ​ 1  ไม่มีความหนัก ​ 1  ไม่มีความกระด้าง ​ 1  ไม่มีความไม่ควรแก่งาน ​ (ในการปฏิบัติ) ​ 1  ไม่มีความเจ็บไข้ ​ 1  ไม่มีความคดโกง ​ 1  แต่ทว่าในสมัยนั้นแล ​ กายและจิตของโยคีนั้น ​ สงบ ​ 1  เบา ​ 1  อ่อน ​ 1  ควรแก่งาน ​ 1  ผ่องใส ​ 1  เที่ยงตรง ​ 1  เป็นแท้เลย ​ โยคีนั่นเป็นผู้มีกายและใจอันธรรมทั้งหลายมีปัสสัทธิเป็นต้นเหล่านี้อนุเคราะห์แล้ว ​ ในสมัยนั้นก็เสวยความยินดีที่เรียกว่า ​ มิใช่ของมีอยู่ในมนุษย์ ​ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสระบุถึงไว้ว่า
บรรทัด 1515: บรรทัด 1427:
 '''​ปัสสัทธิอันประกอบด้วยธรรมมีลหุตา ​ (ความเบา) ​ เป็นต้น ​ ซึ่งทำให้สำเร็จความยินดีที่มิใช่ของมนุษย์นี้เกิดขึ้นอยู่แก่โยคีนั้น ​ ด้วยประการดังกล่าวนี้'''​ '''​ปัสสัทธิอันประกอบด้วยธรรมมีลหุตา ​ (ความเบา) ​ เป็นต้น ​ ซึ่งทำให้สำเร็จความยินดีที่มิใช่ของมนุษย์นี้เกิดขึ้นอยู่แก่โยคีนั้น ​ ด้วยประการดังกล่าวนี้'''​
  
-'''​[[5.  สุข]]'''​+'''​[5. ​ สุข]'''​
  
 คำว่า ​ "​สุข" ​ หมายถึง ​ ความสุขประกอบด้วยวิปัสสนา ​ ทราบว่า ​ ในสมัยนั้น ​ ความสุขอันประณีตยิ่งเกิดขึ้นท่วมท้นไปในสรีรกายทั้งสิ้น คำว่า ​ "​สุข" ​ หมายถึง ​ ความสุขประกอบด้วยวิปัสสนา ​ ทราบว่า ​ ในสมัยนั้น ​ ความสุขอันประณีตยิ่งเกิดขึ้นท่วมท้นไปในสรีรกายทั้งสิ้น
  
-'''​[[6.  อธิโมกข์]]'''​+'''​[6. ​ อธิโมกข์]'''​
  
 คำว่า ​ "​อธิโมกข์" ​ หมายถึง ​ ศรัทธา ​ เพราะว่า ​ ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยวิปัสสนานั่นแลเป็นความผ่องใสอย่างยิ่งของจิตและเจตสิก ​ เป็นศรัทธามีกำลัง ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น คำว่า ​ "​อธิโมกข์" ​ หมายถึง ​ ศรัทธา ​ เพราะว่า ​ ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยวิปัสสนานั่นแลเป็นความผ่องใสอย่างยิ่งของจิตและเจตสิก ​ เป็นศรัทธามีกำลัง ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น
  
-'''​[[7.  ปัคคาหะ]]'''​+'''​[7. ​ ปัคคาหะ]'''​
  
 คำว่า ​ "​ปัคคาหะ" ​ หมายถึง ​ วิริยะ ​ (คือความเพียร) ​ เพราะว่า ​ ความเพียรที่สัมปยุตด้วยวิปัสสนานั่นแล ​ เป็นความเพียรที่ไม่หย่อนเกินไป ​ ไม่ตึงเกินไป ​ ประคับประคองไว้เป็นอย่างดี ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น คำว่า ​ "​ปัคคาหะ" ​ หมายถึง ​ วิริยะ ​ (คือความเพียร) ​ เพราะว่า ​ ความเพียรที่สัมปยุตด้วยวิปัสสนานั่นแล ​ เป็นความเพียรที่ไม่หย่อนเกินไป ​ ไม่ตึงเกินไป ​ ประคับประคองไว้เป็นอย่างดี ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น
บรรทัด 1529: บรรทัด 1441:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 328)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 328)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[8.  อุปัฏฐานะ]]'''​+'''​[8. ​ อุปัฏฐานะ]'''​
  
 คำว่า ​ "​อุปัฏฐานะ" ​ หมายถึง ​ สติ ​ เพราะว่า ​ สติที่สัมปยุตด้วยวิปัสสนานั่นแล ​ เข้าไปตั้งอยู่อย่างดี ​ มั่นคง ​ ฝังลึก ​ ไม่หวั่นไหว ​ ประหนึ่งภูเขาหลวง ​ เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ โยคีท่านนั้นรำพึงถึง ​ รำลึกถึง ​ ทำในใจถึง ​ เจาะจงนึกเห็น ​ ซึ่งฐานะใด ​ ๆ  ฐานะนั้น ​ ๆ  ก็ลิ่วแล่นเข้าไปตั้งอยู่ด้วยสติแก่โยคีนั้น ​ ประหนึ่งปรโลกปรากฏแก่ท่านผู้มีทิพยจักษุ คำว่า ​ "​อุปัฏฐานะ" ​ หมายถึง ​ สติ ​ เพราะว่า ​ สติที่สัมปยุตด้วยวิปัสสนานั่นแล ​ เข้าไปตั้งอยู่อย่างดี ​ มั่นคง ​ ฝังลึก ​ ไม่หวั่นไหว ​ ประหนึ่งภูเขาหลวง ​ เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ โยคีท่านนั้นรำพึงถึง ​ รำลึกถึง ​ ทำในใจถึง ​ เจาะจงนึกเห็น ​ ซึ่งฐานะใด ​ ๆ  ฐานะนั้น ​ ๆ  ก็ลิ่วแล่นเข้าไปตั้งอยู่ด้วยสติแก่โยคีนั้น ​ ประหนึ่งปรโลกปรากฏแก่ท่านผู้มีทิพยจักษุ
  
-'''​[[9.  อุเบกขา]]'''​+'''​[9. ​ อุเบกขา]'''​
  
 คำว่า ​ "​อุเบกขา" ​ หมายถึง ​ ทั้งวิปัสสนูเปกขาและทั้งอาวัชชนุเปกขา ​ เพราะว่า ​ ในสมัยนั้น ​ ทั้งวิปัสสนูเปกขา ​ ซึ่งมีความเป็นกลางในสังขารทั้งปวง ​ ทั้งอาวัชชนูเปกขาในมโนทวารก็มีกำลัง ​ เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ความจริง ​ เมื่อโยคีนั้นรำพึงถึงฐานะนั้น ​ ๆ  อยู่ ​ อุเบกขานั้นก็ดำเนินอย่างแก่กล้าแหลมคม ​ ประดุจดังวชิระของพระอินทร์ที่ทรงซัดออกไป ​ และประดุจดังลูกศรที่เผาร้อนแล้วยิงไปในกองใบไม้ คำว่า ​ "​อุเบกขา" ​ หมายถึง ​ ทั้งวิปัสสนูเปกขาและทั้งอาวัชชนุเปกขา ​ เพราะว่า ​ ในสมัยนั้น ​ ทั้งวิปัสสนูเปกขา ​ ซึ่งมีความเป็นกลางในสังขารทั้งปวง ​ ทั้งอาวัชชนูเปกขาในมโนทวารก็มีกำลัง ​ เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ความจริง ​ เมื่อโยคีนั้นรำพึงถึงฐานะนั้น ​ ๆ  อยู่ ​ อุเบกขานั้นก็ดำเนินอย่างแก่กล้าแหลมคม ​ ประดุจดังวชิระของพระอินทร์ที่ทรงซัดออกไป ​ และประดุจดังลูกศรที่เผาร้อนแล้วยิงไปในกองใบไม้
  
-'''​[[10.  นิกันติ]]'''​+'''​[10. ​ นิกันติ]'''​
  
 คำว่า ​ "​นิกันติ" ​ หมายถึง ​ วิปัสสนานิกันติ ​ (ความใคร่ในวิปัสสนา) ​ เพราะว่า ​ นิกันติ ​ มีอาการสงบ ​ สุขุม ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ทำความอาลัยอยู่ในวิปัสสนาอันประดับด้วยอุปกิเลสมีโอภาสเป็นต้น ​ ด้วยประการดังกล่าวนั้น ​ ซึ่งเป็นความใคร่ที่ใคร ​ ๆ  ไม่สามารถแม้แต่กำหนดรู้ได้ว่าเป็นกิเลส คำว่า ​ "​นิกันติ" ​ หมายถึง ​ วิปัสสนานิกันติ ​ (ความใคร่ในวิปัสสนา) ​ เพราะว่า ​ นิกันติ ​ มีอาการสงบ ​ สุขุม ​ ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น ​ ทำความอาลัยอยู่ในวิปัสสนาอันประดับด้วยอุปกิเลสมีโอภาสเป็นต้น ​ ด้วยประการดังกล่าวนั้น ​ ซึ่งเป็นความใคร่ที่ใคร ​ ๆ  ไม่สามารถแม้แต่กำหนดรู้ได้ว่าเป็นกิเลส
บรรทัด 1545: บรรทัด 1457:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 329)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 329)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[[จำแนกอุปกิเลส ​ 10  โดยคาหะ ​ 3  เป็น ​ 30]]'''​+'''​[จำแนกอุปกิเลส ​ 10  โดยคาหะ ​ 3  เป็น ​ 30]'''​
  
 อนึ่ง ​ ในอุปกิเลส ​ 10  นี้ ​ ธรรมทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้น ​ ท่านเรียกว่า ​ "​อุปกิเลส" ​ เพราะเป็น ​ สัตถุ ​ (ที่ตั้ง) ​ ของอุปกิเลส ​ มิใช่เพราะเป็นอกุศล ​ ส่วนนิกันติเป็นทั้งอุปกิเลส ​ เป็นทั้งวัตถุของอุปกิเลสด้วย ​ และอุปกิเลสเหล่านี้ ​ มี ​ 10  โดยทาง ​ วัตถุ ​ (ดังกล่าวแล้ว) ​ แต่โดยทาง ​ คาหะ ​ (ความยึดถือ) ​ มี ​ 30  ถ้วน ​ มี ​ 30  ถ้วนโดยทางคาหะเป็นอย่างไร ​ ?  เพราะว่า ​ เมื่อโยคีคาวจรยึดถืออยู่ว่า ​ "​โอภาสเกิดขึ้นแก่เราแล้ว" ​ ดังนี้ ​ เป็น ​ ทิฏฐิคาหะ ​ (ยึดถือด้วยทิฏฐิ) ​ 1  เมื่อยึดถืออยู่ว่า ​ "​โอภาสน่าพึงพอใจจริงหนอเกิดขึ้นแล้ว" ​ ดังนี้ ​ เป็น ​ มานคาหะ ​ (ยึดถือด้วยมานะ) ​ 1  เมื่อโยคาวจรชื่นชมโอภาสอยู่ ​ เป็น ​ ตัณหาคาหะ ​ (ยึดถือด้วยตัณหา) ​ 1  ในโอภาสมีคาหะ ​ 3  โดยทางทิฏฐิ ​ 1  มานะ ​ 1  และตัณหา ​ 1  ด้วยประการฉะนี้ ​ แม้ในอุปกิเลสทั้งหลายที่เหลือก็มี ​ (อย่างละ ​ 3)  เหมือนกัน ​ เพราะเหตุนี้ ​ จึงมีอุปกิเลสรวม ​ 30  ถ้วน ​ โดยทางคาหะ ​ ด้วยอาการดังกล่าวนี้ อนึ่ง ​ ในอุปกิเลส ​ 10  นี้ ​ ธรรมทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้น ​ ท่านเรียกว่า ​ "​อุปกิเลส" ​ เพราะเป็น ​ สัตถุ ​ (ที่ตั้ง) ​ ของอุปกิเลส ​ มิใช่เพราะเป็นอกุศล ​ ส่วนนิกันติเป็นทั้งอุปกิเลส ​ เป็นทั้งวัตถุของอุปกิเลสด้วย ​ และอุปกิเลสเหล่านี้ ​ มี ​ 10  โดยทาง ​ วัตถุ ​ (ดังกล่าวแล้ว) ​ แต่โดยทาง ​ คาหะ ​ (ความยึดถือ) ​ มี ​ 30  ถ้วน ​ มี ​ 30  ถ้วนโดยทางคาหะเป็นอย่างไร ​ ?  เพราะว่า ​ เมื่อโยคีคาวจรยึดถืออยู่ว่า ​ "​โอภาสเกิดขึ้นแก่เราแล้ว" ​ ดังนี้ ​ เป็น ​ ทิฏฐิคาหะ ​ (ยึดถือด้วยทิฏฐิ) ​ 1  เมื่อยึดถืออยู่ว่า ​ "​โอภาสน่าพึงพอใจจริงหนอเกิดขึ้นแล้ว" ​ ดังนี้ ​ เป็น ​ มานคาหะ ​ (ยึดถือด้วยมานะ) ​ 1  เมื่อโยคาวจรชื่นชมโอภาสอยู่ ​ เป็น ​ ตัณหาคาหะ ​ (ยึดถือด้วยตัณหา) ​ 1  ในโอภาสมีคาหะ ​ 3  โดยทางทิฏฐิ ​ 1  มานะ ​ 1  และตัณหา ​ 1  ด้วยประการฉะนี้ ​ แม้ในอุปกิเลสทั้งหลายที่เหลือก็มี ​ (อย่างละ ​ 3)  เหมือนกัน ​ เพราะเหตุนี้ ​ จึงมีอุปกิเลสรวม ​ 30  ถ้วน ​ โดยทางคาหะ ​ ด้วยอาการดังกล่าวนี้
บรรทัด 1572: บรรทัด 1484:
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 330)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 330)''</​fs></​sub>​
 +
 +==พลววิปัสสนา==
  
 แต่โยคาวจรผู้ฉลาด ​ ผู้เป็นบัณฑิต ​ เฉียบแหลม ​ ถึงพร้อมด้วยความรู้ ​ เมื่ออุปกิเลสทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น ​ ก็กำหนดรู้ ​ ใคร่ครวญเห็นมัน ​ ด้วยปัญญาดังนี้ว่า ​ "​โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแก่เราแล้ว ​ แต่โอภาสนี้นั้นแล ​ ไม่เที่ยง ​ ปัจจัยปรุงแต่งไว้ ​ อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น ​ มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา ​ มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ​ มีความคลายราคะไปเป็นธรรมดา ​ มีความดับไปเป็นธรรมดา" ​ ด้วยประการฉะนี้บ้าง ​ ก็หรือว่าโยคาวจรนั้นมีความคิดในขณะนั้นอย่างนี้ว่า ​ "​ถ้าโอภาสนี้พึงเป็นอัตตาไซร้ ​ การถือ ​ (โอภาสนั้น) ​ ว่า ​ "​อัตตา" ​ ก็ควร ​ แต่โอภาสนี้ ​ มิใช่อัตตาเลย ​ ถือว่า ​ "​เป็นอัตตา" ​ เพราะฉะนั้น ​ โอภาสนั้นเป็นอนัตตา ​ โดยความหมายว่าไม่เป็นไปในอำนาจ ​ เป็นอนิจจัง ​ โดยความหมายว่ามีแล้วหามีไม่ ​ เป็นทุกขัง ​ โดยความหมายว่าเบียดเบียนเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ" ​ ดังนี้ แต่โยคาวจรผู้ฉลาด ​ ผู้เป็นบัณฑิต ​ เฉียบแหลม ​ ถึงพร้อมด้วยความรู้ ​ เมื่ออุปกิเลสทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น ​ ก็กำหนดรู้ ​ ใคร่ครวญเห็นมัน ​ ด้วยปัญญาดังนี้ว่า ​ "​โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแก่เราแล้ว ​ แต่โอภาสนี้นั้นแล ​ ไม่เที่ยง ​ ปัจจัยปรุงแต่งไว้ ​ อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น ​ มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา ​ มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ​ มีความคลายราคะไปเป็นธรรมดา ​ มีความดับไปเป็นธรรมดา" ​ ด้วยประการฉะนี้บ้าง ​ ก็หรือว่าโยคาวจรนั้นมีความคิดในขณะนั้นอย่างนี้ว่า ​ "​ถ้าโอภาสนี้พึงเป็นอัตตาไซร้ ​ การถือ ​ (โอภาสนั้น) ​ ว่า ​ "​อัตตา" ​ ก็ควร ​ แต่โอภาสนี้ ​ มิใช่อัตตาเลย ​ ถือว่า ​ "​เป็นอัตตา" ​ เพราะฉะนั้น ​ โอภาสนั้นเป็นอนัตตา ​ โดยความหมายว่าไม่เป็นไปในอำนาจ ​ เป็นอนิจจัง ​ โดยความหมายว่ามีแล้วหามีไม่ ​ เป็นทุกขัง ​ โดยความหมายว่าเบียดเบียนเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ" ​ ดังนี้
บรรทัด 1605: บรรทัด 1519:
 ==ดูเพิ่ม== ==ดูเพิ่ม==
 *'''​[http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka2/​sutta23.php ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค]'''​ *'''​[http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka2/​sutta23.php ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค]'''​
-*'''​[[วิสุทธิมรรค ฉบับปรับสำนวน]] (สารบัญ)'''​+*'''​[วิสุทธิมรรค ฉบับปรับสำนวน]] (สารบัญ)'''​