วิสุทธิมรรค_07_ฉอนุสสตินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_07_ฉอนุสสตินิทเทส [2020/07/08 15:25]
dhamma [1. อธิบายบท อรหํ]
วิสุทธิมรรค_07_ฉอนุสสตินิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
 =อนุสสติ ​ 10  ประการ= =อนุสสติ ​ 10  ประการ=
  
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 330)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 330)''</​fs></​sub>​
  
-8.  สภาพรู้รูปกายต่างๆ มีผมเป็นต้น ​ หรือสภาพรู้ในกาย ​ ชื่อว่า ​ กายคตา ((เย คตฺยตฺถา เต พุทฺธฺยตฺถา ปวตฺติปาปุณตฺถกา. ([[ธาตฺวตฺถสงฺคห]]. ๑๙))). กายคตานั้นด้วย สติด้วย ชื่อว่า ​ กายคตสติ ​ แทนที่ท่านจะกล่าวว่า ​ กายคตสติ ​ กลับกล่าวเสียว่า ​ [[กายคตาสติ]] ​ เพราะไม่ทำ[[รัสสะ]]. ​ คำนี้เป็นชื่อของสติ ​ อันมีนิมิตคือชิ้นส่วนของกายมีผมเป็นต้นเป็นอารมณ์.+8.  สภาพรู้รูปกายต่างๆ มีผมเป็นต้น ​ หรือสภาพรู้ในกาย ​ ชื่อว่า ​ กายคตา ((เย คตฺยตฺถา เต พุทฺธฺยตฺถา ปวตฺติปาปุณตฺถกา. ([[ธาตฺวตฺถสงฺคห]]. ๑๙) )). กายคตานั้นด้วย สติด้วย ชื่อว่า ​ กายคตสติ ​ แทนที่ท่านจะกล่าวว่า ​ กายคตสติ ​ กลับกล่าวเสียว่า ​ [[กายคตาสติ]] ​ เพราะไม่ทำ[[รัสสะ]]. ​ คำนี้เป็นชื่อของสติ ​ อันมีนิมิตคือชิ้นส่วนของกายมีผมเป็นต้นเป็นอารมณ์.
  
 9.  [[อานาปานสติ]] คือ ความระลึกเกิดขึ้นปรารภลมหายใจเข้าและลมหายใจออก. ​   คำนี้เป็นชื่อของสติอันมีนิมิตคือลมหายใจเข้าและลมหายใจออกเป็นอารมณ์. 9.  [[อานาปานสติ]] คือ ความระลึกเกิดขึ้นปรารภลมหายใจเข้าและลมหายใจออก. ​   คำนี้เป็นชื่อของสติอันมีนิมิตคือลมหายใจเข้าและลมหายใจออกเป็นอารมณ์.
บรรทัด 195: บรรทัด 195:
 สิ่งที่ควรเจริญเราได้เจริญแล้ว ​ ดูก่อนพราหมณ์ ​ เพราะเหตุนั้น ​ เราจึงเป็นผู้ตรัสรู้ สิ่งที่ควรเจริญเราได้เจริญแล้ว ​ ดูก่อนพราหมณ์ ​ เพราะเหตุนั้น ​ เราจึงเป็นผู้ตรัสรู้
  
-อีกประการหนึ่ง ​ จักษุ ​ เป็นทุกขสัจ ​ ตัณหาเก่าอันเป็นสมุฏฐานโดยความเป็นมูลเหตุแห่งจักษุนั้น ​ เป็นสมุทยสัจ ​ ความไม่ดำเนินไปแห่งจักษุและตัณหาทั้งสอง ​ เป็นนิโรธสัจ ​ ปฏิปทาที่เป็นเหตุรู้นิโรธ ​ เป็นมัคคสัจ ​ พระผู้มีพระภาคตรัสรู้สรรพธรรมทั้งหลายโดยชอบด้วยพระองค์เองด้วย ​ แม้โดยการยกขึ้นทีละบท ๆ  อย่างนี้ด้วยประการฉะนี้ ​ แม้ในโสตะ, ​ ฆานะ,​ ชิวหา, ​ กายและมโนทั้งหลาย ​ ก็มีนัยเช่นเดียวกันนี้ +# (ปิยรูปสาตรูป 60) อีกประการหนึ่ง จักษุ ​ เป็นทุกขสัจ ​ ตัณหาเก่าอันเป็นสมุฏฐานโดยความเป็นมูลเหตุแห่งจักษุนั้น ​ เป็นสมุทยสัจ ​ ความไม่ดำเนินไปแห่งจักษุและตัณหาทั้งสอง ​ เป็นนิโรธสัจ ​ ปฏิปทาที่เป็นเหตุรู้นิโรธ ​ เป็นมัคคสัจ ​ พระผู้มีพระภาคตรัสรู้สรรพธรรมทั้งหลายโดยชอบด้วยพระองค์เองด้วย ​ แม้โดยการยกขึ้นทีละบท ๆ  อย่างนี้ด้วยประการฉะนี้ ​ แม้ในโสตะ, ​ ฆานะ,​ ชิวหา, ​ กายและมโนทั้งหลาย ​ ก็มีนัยเช่นเดียวกันนี้ อายตนะ 6  มีรูปเป็นต้น ​ กองแห่งวิญญาณ 6  มีจักษุวิญญาณเป็นต้น ​ ผัสสะ 6  มีจักษุสัมผัสเป็นต้น ​ เวทนา 6  มีจักษุสัมผัสสชาเวทนาเป็นต้น ​ สัญญา 6  มีรูปสัญญาเป็นต้น ​ เจตนา 6  มีรูปสัญเจตนาเป็นต้น ​ กองแห่งตัณหา 6  มีรูปตัณหาเป็นต้น ​ วิตก 6 มีรูปวิตกเป็นต้น ​ วิจาร 6  มีรูปวิจารเป็นต้น  ​ 
- +ขันธ์ 5  มีรูปขันธ์เป็นต้น  ​ 
-อายตนะ 6  มีรูปเป็นต้น ​ กองแห่งวิญญาณ 6  มีจักษุวิญญาณเป็นต้น ​ ผัสสะ 6  มีจักษุสัมผัสเป็นต้น ​ เวทนา 6  มีจักษุสัมผัสสชาเวทนาเป็นต้น ​ สัญญา 6  มีจักษุสัญญาเป็นต้น ​ เจตนา 6  มีรูปสัญเจตนาเป็นต้น ​ กองแห่งตัณหา 6  มีรูปตัณหาเป็นต้น ​ วิตก 6 มีรูปวิตกเป็นต้น ​ วิจาร 6  มีรูปวิจารเป็นต้น ​ ขันธ์ 5  มีรูปขันธ์เป็นต้น ​ กสิณ 10  อนุสสติ 10  สัญญา 10  ด้วยอำนาจแห่งอุทธุมาตกสัญญาเป็นต้น ​ อาการ 32  มีผมเป็นต้น ​ อายตนะ 12  ธาตุ 18  ภพ 9  มีกามภพเป็นต้น ​ ฌาน 4  มีปฐมฌานเป็นต้น ​ อัปปมัญญา 4 มีเมตตาภาวนาเป็นต้น ​ อรูปสมาบัติ 4  และองค์แห่งปฏิจจสมุปบาทโดยปฏิโลมมีชาติและชราเป็นต้น ​ โดยอนุโลมมีอวิชชาเป็นต้น ​ นักศึกษาพึงประกอบเข้าโดนนัยนี้นั่นแล+กสิณ 10  ​ 
 +อนุสสติ 10  ​ 
 +สัญญา 10  ด้วยอำนาจแห่งอุทธุมาตกสัญญาเป็นต้น  ​ 
 +อาการ 32  มีผมเป็นต้น  ​ 
 +อายตนะ 12  ​ 
 +ธาตุ 18  ​ 
 +ภพ 9  มีกามภพเป็นต้น  ​ 
 +ฌาน 4  มีปฐมฌานเป็นต้น  ​ 
 +อัปปมัญญา 4 มีเมตตาภาวนาเป็นต้น  ​ 
 +อรูปสมาบัติ 4  ​ 
 +และองค์แห่งปฏิจจสมุปบาท ​(12) โดยปฏิโลมมีชาติและชราเป็นต้น ​ โดยอนุโลมมีอวิชชาเป็นต้น ​ นักศึกษาพึงประกอบเข้าโดนนัยนี้นั่นแล
  
 การประกอบความบทหนึ่งในธรรมเหล่านั้น ​ (มีตัวอย่าง) ​ ดังต่อไปนี้ ​ คือ ​ ชรา ​ และมรณะ ​ เป็นทุกขสัจ ​ ชาติ ​ เป็นสมุทยสัจ ​ ความสลัดออกซึ่งทุกขสัจและสมุทยสัจแมัทั้ง 2  เป็นนิโรธสัจ ​ ปฏิปทาเป็นเหตุรู้แจ้งซึ่งนิโรธสัจ ​ เป็นมัคคสัจ ​ พระผู้มีพระภาคตรัสรู้ ​ คือทรงรู้โดยอนุโลม ​ ทรงรู้โดยปฏิโลม ​ ซึ่งสรรพธรรมทั้งหลายโดยการยกขึ้นทีละบท ๆ  อย่างนี้ ​ ด้วยประการฉะนี้ ​ ด้วยเหตุนั้น ​ ข้าพเจ้าจึงกล่าวไว้ว่า ​ ก็แหละ ​ พระผู้มีพระภาคทรงได้ ​ พระนามว่า ​ สัมมาสัมพุทโธ ​ เพราะเหตุที่เป็นผู้ตรัสรู้สรรพธรรมทั้งหลายโดยชอบด้วยพระองค์เองด้วย ​ ฉะนี้  ​ การประกอบความบทหนึ่งในธรรมเหล่านั้น ​ (มีตัวอย่าง) ​ ดังต่อไปนี้ ​ คือ ​ ชรา ​ และมรณะ ​ เป็นทุกขสัจ ​ ชาติ ​ เป็นสมุทยสัจ ​ ความสลัดออกซึ่งทุกขสัจและสมุทยสัจแมัทั้ง 2  เป็นนิโรธสัจ ​ ปฏิปทาเป็นเหตุรู้แจ้งซึ่งนิโรธสัจ ​ เป็นมัคคสัจ ​ พระผู้มีพระภาคตรัสรู้ ​ คือทรงรู้โดยอนุโลม ​ ทรงรู้โดยปฏิโลม ​ ซึ่งสรรพธรรมทั้งหลายโดยการยกขึ้นทีละบท ๆ  อย่างนี้ ​ ด้วยประการฉะนี้ ​ ด้วยเหตุนั้น ​ ข้าพเจ้าจึงกล่าวไว้ว่า ​ ก็แหละ ​ พระผู้มีพระภาคทรงได้ ​ พระนามว่า ​ สัมมาสัมพุทโธ ​ เพราะเหตุที่เป็นผู้ตรัสรู้สรรพธรรมทั้งหลายโดยชอบด้วยพระองค์เองด้วย ​ ฉะนี้  ​