ปฏิสัมภิทามรรค_01-2_มหาวรรค

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
ปฏิสัมภิทามรรค_01-2_มหาวรรค [2020/06/27 22:24]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
ปฏิสัมภิทามรรค_01-2_มหาวรรค [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>ปฏิสัมภิทามรรค head}}{{wst>ฏิัมภิทามรรค sidebar}}+{{template:ปฏิสัมภิทามรรค head}}{{template:​ฉบับรับำนวน head|}}
  
 ==ญาณกถา (ต่อ)== ==ญาณกถา (ต่อ)==
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
 ปัญญาขณะปริคคหะปัจจัยว่า ในอดีตกาลก็ดี ในอนาคตกาลก็ดี ชาติเป็นปัจจัย ชราและมรณะเกิดขึ้นเพราะปัจจัย แม้ธรรมทั้งสองนี้ต่างก็เกิดขึ้นเพราะปัจจัย ...  ดังนี้ เป็นธรรมฐิติญาณ ฯ ปัญญาขณะปริคคหะปัจจัยว่า ในอดีตกาลก็ดี ในอนาคตกาลก็ดี ชาติเป็นปัจจัย ชราและมรณะเกิดขึ้นเพราะปัจจัย แม้ธรรมทั้งสองนี้ต่างก็เกิดขึ้นเพราะปัจจัย ...  ดังนี้ เป็นธรรมฐิติญาณ ฯ
  
-[98] ในกรรมภพก่อน ​ความหลงเป็นอวิชชา กรรมที่ประมวลมาเป็นสังขาร ความพอใจเป็นตัณหา ความเข้าถึงเป็นอุปาทาน ความคิดอ่านเป็นภพธรรม 5 ประการในกรรมภพก่อนเหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งปฏิสนธิในอุปปัตติภพนี้ปฏิสนธิเป็นวิญญาณ ความก้าวลงเป็นนามรูปประสาท (ภาวะที่ผ่องใสจ) เป็นอายตนะ ​ส่วนที่ถูต้องเป็นผัสสะ ความเสวยอารมณ์เป็นเวทนาในอุปปัตติภพนี้ธรรม 5 ประการในอุปปัตติภพนี้เหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งกรรมที่ทำไว้ในปุเรภพความหลงเป็นอวิชชา กรรมที่ประมวลมาเป็นสังขาร ความพอใจเป็นตัณหา ​ ความเข้าถึงเป็นอุปาทาน ความคิดอ่านเป็นภพ (ย่อมมี) เพราะอายตนะทั้งหลายในภพนี้สุดรอบ ธรรม 5 ประการในกรรมภพนี้เหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งปฏิสนธิในอนาคต ปฏิสนธิในอนาคตเป็นวิญญาณ ความก้าวลงเป็นนามรูป ประสาทเป็นอายตนะ ส่วนที่ถูกต้องเป็นผัสสะ ความเสวยอารมณ์เป็นเวทนาธรรม 5 ประการในอุปปัตติภพในอนาคตเหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งกรรมที่ทำไว้ในภพนี้ พระโยคาวจรย่อมรู้ ย่อมเห็น ย่อมทราบชัด ย่อมแทงตลอด ซึ่งปฏิจจสมุปบาท ​ มีสังเขป 4 [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=30 กาล 3] ปฏิสนธิ 3 เหล่านี้ โดยอาการ 20 ด้วยประการดังนี้+[98] ความหลงคืออวิชชา กรรมที่ประมวลมาเป็นสังขาร ความพอใจเป็นตัณหา ความเข้าถึงเป็นอุปาทาน ความคิดอ่านเป็นภพ ธรรม 5 ประการในกรรมภพก่อนเหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งปฏิสนธิในอุปปัตติภพนี้ปฏิสนธิเป็นวิญญาณ ความก้าวลงเป็นนามรูป ปสาทะ (รูปใสมี ​ักขุปสาทะ เป็นต้น) เป็นอายตนะ การกระทบเป็นผัสสะ ความเสวยอารมณ์เป็นเวทนาในอุปปัตติภพนี้ธรรม 5 ประการในอุปปัตติภพนี้เหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งกรรมที่ทำไว้ในปุเรภพความหลงเป็นอวิชชา กรรมที่ประมวลมาเป็นสังขาร ความพอใจเป็นตัณหา ​ ความเข้าถึงเป็นอุปาทาน ความคิดอ่านเป็นภพ (ย่อมมี) เพราะอายตนะทั้งหลายในภพนี้สุดรอบ ธรรม 5 ประการในกรรมภพนี้เหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งปฏิสนธิในอนาคต ปฏิสนธิในอนาคตเป็นวิญญาณ ความก้าวลงเป็นนามรูป ประสาทเป็นอายตนะ ส่วนที่ถูกต้องเป็นผัสสะ ความเสวยอารมณ์เป็นเวทนาธรรม 5 ประการในอุปปัตติภพในอนาคตเหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งกรรมที่ทำไว้ในภพนี้ พระโยคาวจรย่อมรู้ ย่อมเห็น ย่อมทราบชัด ย่อมแทงตลอด ซึ่งปฏิจจสมุปบาท ​ มีสังเขป 4 [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=30 กาล 3] ปฏิสนธิ 3 เหล่านี้ โดยอาการ 20 ด้วยประการดังนี้
  
 ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด ​ เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาขณะปริคคหะปัจจัย เป็นธรรมฐิติญาณ ฯ ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด ​ เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาขณะปริคคหะปัจจัย เป็นธรรมฐิติญาณ ฯ