ปฏิสัมภิทามรรค_01-1_มหาวรรค

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
ปฏิสัมภิทามรรค_01-1_มหาวรรค [2020/08/06 13:20]
dhamma
ปฏิสัมภิทามรรค_01-1_มหาวรรค [2022/08/25 06:26] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma [มาติกา]
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>ปฏิสัมภิทามรรค ​head}}{{wst>ฏิัมภิทามรรค sidebar}}+{{template:ปฏิสัมภิทามรรค_head}}{{template:​ฉบับรับำนวน head|}}
  
 '''​พระสุตตันตปิฎก'''​ '''​พระสุตตันตปิฎก'''​
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
 # เมื่อสำรวมแล้ว ตั้งจิตมั่นอย่างเข้าใจ เป็นสมาธิภาวนามยญาณ [ปัญญาที่ชำนาญจากการทำสมาธิให้ต่อเนื่อง] 1 # เมื่อสำรวมแล้ว ตั้งจิตมั่นอย่างเข้าใจ เป็นสมาธิภาวนามยญาณ [ปัญญาที่ชำนาญจากการทำสมาธิให้ต่อเนื่อง] 1
 # เมื่อแยกปัจจัยอย่างเข้าใจ เป็นธรรมฐิติญาณ [ปัญญาที่ชำนาญ 3 อัทธาปฏิจจสมุปบาท] 1 # เมื่อแยกปัจจัยอย่างเข้าใจ เป็นธรรมฐิติญาณ [ปัญญาที่ชำนาญ 3 อัทธาปฏิจจสมุปบาท] 1
-# เมื่อย่อส่วน(สันตติ)อดีตอนาคตและปัจจุบันธรรม(ในปัจจุบันอัทธาธัมมฐิติ)ทั้งหลาย ปัญญาที่ตัดสิน(ปฏิจจสมุปบาททั้ง 3 สันตติปัจจุบันในอัทธาปัจจุบันนั้นว่าล้วนมีไตรลักษณ์) เป็นสัมมสนญาณ [ปัญญาที่ชำนาญทำสัมมาทัสสนะในญาณที่แล้ว] 1+# เมื่อย่อส่วน(สันตติ)อดีตอนาคตและปัจจุบันธรรม(ในปัจจุบันอัทธาธัมมฐิติ)ทั้งหลาย ปัญญาที่ตัดสิน(ปฏิจจสมุปบาททั้ง 3 สันตติปัจจุบันในอัทธาปัจจุบันนั้นว่าล้วนมีไตรลักษณ์) เป็นสัมมสนญาณ [ปัญญาที่ชำนาญทำสัมมาทัสสนะด้วยญาณที่แล้ว] 1
 # เมื่อหมั่นตามเห็นความแปรเปลี่ยนไปของ(ปฏิจจสมุปบาท)ธรรมส่วน(ขณะ)ปัจจุบันอย่างเข้าใจ เป็นอุทยัพพยานุปัสนาญาณ [ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม]1 # เมื่อหมั่นตามเห็นความแปรเปลี่ยนไปของ(ปฏิจจสมุปบาท)ธรรมส่วน(ขณะ)ปัจจุบันอย่างเข้าใจ เป็นอุทยัพพยานุปัสนาญาณ [ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม]1
 # เมื่อวิปัสสนาจิต(ขณปัจจุบัน)พิจารณาอารมณ์แล้ว หมั่นตามเห็นความดับ(ของวิปัสสนาจิตนั้น)อย่างเข้าใจ เป็นวิปัสนาญาณ[ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความดับของวิปัสสนาจิต] 1 # เมื่อวิปัสสนาจิต(ขณปัจจุบัน)พิจารณาอารมณ์แล้ว หมั่นตามเห็นความดับ(ของวิปัสสนาจิตนั้น)อย่างเข้าใจ เป็นวิปัสนาญาณ[ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความดับของวิปัสสนาจิต] 1
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นอุปกิเลสนั้นๆ อันอริยมรรคนั้นๆตัดเสียแล้ว เป็นวิมุติญาณ 1 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นอุปกิเลสนั้นๆ อันอริยมรรคนั้นๆตัดเสียแล้ว เป็นวิมุติญาณ 1
 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุมในขณะนั้น เป็นปัจจเวกขณญาณ 1 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุมในขณะนั้น เป็นปัจจเวกขณญาณ 1
-# ปัญญาในการกำหนดธรรมภายใน เป็นวัตถุนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งวัตถุ] 1 + ​[อรรถกถาบอกว่า ตัวที่เป็นเริ่มต้นกำหนดวิปัสสนา คือ 5 ญาณด้านล่างนี้ ซึ่งเป็นการขยายธัมมัฏฐิติญาณหรือปัจจยปริคคหญาณนั่นเอง:​] 
-# ปัญญาในการกำหนดธรรมภายนอก เป็นโคจรนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งโคจร] 1 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรมภายใน เป็นวัตถุนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งวัตถุ] 1 
-# ปัญญาในการกำหนดจริยา เป็นจริยานานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งจริยา] 1 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรมภายนอก เป็นโคจรนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งโคจร] 1 
-# ปัญญาในการกำหนดธรรม 4 เป็นภูมินานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งภูมิ] 1 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดจริยา[แห่งวิญญาณ] ​เป็นจริยานานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งจริยา] 1 
-# ปัญญาในการกำหนดธรรม 9 เป็นธรรมนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งธรรม]1+# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรม 4 เป็นภูมินานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งภูมิ] 1 
 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรม 9 เป็นธรรมนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งธรรม]1
 # ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็นญาตัฏฐญาณ [ญาณในความว่ารู้] 1 # ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็นญาตัฏฐญาณ [ญาณในความว่ารู้] 1
 # ปัญญาเครื่องกำหนดรู้เป็นตีรณัฏฐญาณ [ญาณในความว่าพิจารณา] 1 # ปัญญาเครื่องกำหนดรู้เป็นตีรณัฏฐญาณ [ญาณในความว่าพิจารณา] 1