{{template:เนตติใหม่ head| }}{{template:ฉบับปรับสำนวน head|}} =การศึกษาของบรรพชิต= ==รูปแบบดั้งเดิม== '''จากเรื่องพระ[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=1#%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%A3%E0%B8%B0 จักขุปาลเถรวัตถุ]''' พระจักขุบาลท่านไปอยู่กับ[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=02&i=406#%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B8%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95_%E0%B9%93_%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%81 อุปัชฌาย์จารย์] ซึ่งเป็นผู้ทรงพระไตรปิฎกบางส่วน เคร่งครัดวินัย จบ[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=02&i=406#%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B8%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95_%E0%B9%93_%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%81 หลักสูตรภิกขุปริสูปัฏฐาปกะ]สอน[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=02&i=406#%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B8%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95_%E0%B9%93_%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%81 หลักสูตรนิสสยมุจจกะ]ให้พระนวกะได้. === หลักสูตรที่พระนิสสยมุจจกะสอนได้ === ===== หลักสูตรฆราวาสและสามเณร ===== ใน[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=1 อรรถกถาขุททกปาฐะ] กล่าวไว้มีใจความว่า การสังคายนาครั้งที่ 1 พระอรหันต์ 500 รูปได้รวบรวมพระสูตรบทเล็กๆ ที่นิยมใช้เริ่มเรียนเริ่มสอนกันในสมัยพุทธกาล ไว้ให้ผู้ใหม่ได้ท่องจำและทำความเข้าใจ เรียกว่า [http://www.84000.org/tipitaka/read/?index_25 ขุททกปาฐะ] มี 9 ข้อ คือ ไตรสรณคมน์, ศีล 10, อาการ 32, กุมารปัญหา, มงคล 38, รตนสูตร, นิธิกัณฑสูตร, ติโรกุฑฒสูตร, เมตตสูตร. === หลักสูตรที่พระอุปัชฌาย์สอนได้ === ==== หลักสูตรนิสสยมุจจกะ ==== ใน[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=02&i=406#%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B8%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95_%E0%B9%93_%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%81 อรรถกถาโอวาทกสิกขาบท] กล่าวไว้สรุปความว่า: # ท่อง[https://www.tipitaka.org/thai/cscd/vin04t.nrf0.xml ภิกขุปาติโมกข์] [https://www.tipitaka.org/thai/cscd/vin04t.nrf1.xml ภิกขุนีปาติโมกข์] [http://www.puthakun.org/puthakun/index.php?option=com_content&view=article&id=1819%3A2015-04-30-00-31-27&catid=234%3A2015-04-30-00-04-48&Itemid=1 คล่องปาก] ขึ้นใจ [https://drive.google.com/file/d/0B59GwhyKnex4X1RUbzAyYjdwYm8/view เข้าใจเป็นอย่างดี]. # ท่องพระสูตร [http://ballwarapol.github.io/pali-editor/paliCounter.html 4 ภาณวาร]/พันคาถา คือ 1 ภาณวารมีขนาดประมาณ[http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=9 มหาสติปัฏฐานสูตร] และเข้าใจเป็นอย่างดีด้วย. ปกติแล้วอุปัชฌาย์จะเป็นผู้เลือกให้. # เข้าในสังฆกรรมน้อยใหญ่ใน[http://www.84000.org/tipitaka/read/?index_mcu6 กรรมขันธกะ]. # รู้[https://www.tipitaka.org/thai/cscd/vin01t1.tik0.xml#M1.0019 กถามรรค] คือ วิธีแสดง'''ข้อปฏิบัติ'''ไม่ให้ขัดต่อพระพุทธพจน์เข้ากับธรรมะเข้ากับอรรถะทั้งปวง สามารถสอนกะผู้มาขอเรียนได้ เช่น [http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=15&siri=184 อันธกวินทสูตร], [http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=13&siri=12 มหาราหุโลวาทสูตร], [http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=9&siri=3 อัมพฏฺฐสูตร]. # ท่องจำสูตรสำหรับงาน 3 ประเภทได้ วิวาหะ, มงคล, อวมงคล. ทั้งหมดมีใน[http://www.84000.org/tipitaka/read/?index_25 ขุททกปาฐะ]. # ท่องจำและเข้าใจ[http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=14&siri=18 สมถกรรมฐาน]จนถึงบรรลุ (สมถยานิก), หรือ[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=3 วิปัสสนากรรมฐาน]จนถึงบรรลุ (วิปัสสนายานิก). # อยู่กับอุปัชฌาย์ 5 ปีขึ้นไป จึงจะจบหลักสูตรได้ และต้องได้ 6 ข้อข้างต้นด้วย ไม่ได้ก็[http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=04&A=3136&Z=3320 ห้ามทิ้งอุปัชฌาย์]. === พระจักขุบาลหลังจบหลักสูตร === พระจักขุบาลอยู่ครบ 5 ปี ฝึกฝนทุกอย่างครบ จบหลักสูตรนิสสยมุจจกะ หลังจากนั้น ท่านพระจักขุบาลจึงถึงขั้นตอนที่จะพิจารณาว่า จะทำคันถะธุระ หรือวิปัสสนาธุระ? '''คันถธุระ''' [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=1#%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%A3%E0%B8%B0 ในเรื่องนั้น] คือ หลังจากจบหลักสูตรนิสสยมุจจกะแล้ว ถ้ายังไม่บรรลุ ยังหนุ่มอยู่ก็ไป[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_th.php?B=11&A=6468&w=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%BA%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%20%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%BA%E0%B8%84%E0% ท่องจำ]พระไตรปิฎก ทำความเข้าใจอรรถกถา บอกสอน 1 นิกายบ้าง 2 นิกายบ้าง หรือ พระไตรปิฎกทั้งหมดบ้าง. '''วิปัสสนาธุระ''' ในบาลีนั้น คือ หลังจากจบหลักสูตรนิสสยมุจจกะแล้ว ถ้ายังไม่บรรลุ ก็ทิ้งทุกอย่าง (สลฺลหุกวุตฺติ) ไปอยู่ในเสนาสนะไกลจากกามคุณ 5 แล้วทำขยวยญาณ (อุทยัพพยญาณเป็นต้นไป) ด้วยใจเด็ดเดี่ยวสละชีวิตได้ เจริญวิปัสสนา ให้บรรลุอรหัตตมรรค. '''ทั้งสองอย่างต้องท่องจำ''' คือ คันถธุระต้องท่องจำพระสูตรตามลำดับทั้งนิกายดังกล่าวแล้ว, ส่วนวิปัสสนาธุระ[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=31&i=85&p=1&h=%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%86%20%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%20%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.#%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%8F%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AA ต้องท่องจำกรรมฐานที่ใช้ปฏิบัติ]. ''สุดท้ายท่านจักขุบาลเลือกวิปัสสนาธุระ.'' จะเห็นได้ว่า แม้จะเลือกเป็นวิปัสสนาธุระ ก็ต้องเรียนพระไตรปิฎกไม่น้อยเลย. และเป็นข้อบังคับมาจากพระไตรปิฎกอรรถกถาเองด้วย ท่านหรืออาจารย์ของท่าน ไม่ได้คิดขึ้นเอง, ทุกอย่างมีอธิบายในพระวินัยปิฎก และอรรถกถา. ในอดีตสายพระป่าโบราณก็ศึกษาคล้ายๆ กันนี้, และปัจจุบัน การศึกษาแบบนี้ ยังมีอยู่ที่วัดสาย Pa-Auk ที่พม่าเป็นต้น. '''ที่มา [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=1#%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%A3%E0%B8%B0 http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=1#เรื่องพระจักขุปาลเถระ]''' ==รูปแบบใหม่== การเรียนในปัจจุบันแตกต่างจากสมัยโบราณมาก, เริ่มมาจาก # เรียนภาษาบาลีแล้วอ่านพระไตรปิฎกเอง คิดเอง ไม่มีผู้ทรงพระไตรปิฎกแนะนำ. # ไม่ท่องจำ ตามระบบ[[w:en:Student-centred_learning|ไชลด์เซ็นเตอร์]] เอาความเข้าใจส่วนตัวเป็นที่ตั้ง. # [[w:en:Materialism|วัตถุนิยม]] กามสุขัลลิกานุโยค กามโภคี. จากเรื่องของระบบการศึกษาแบบโบราณข้างต้น จะเห็นได้ว่า พระบารมีของพระโพธิสัตว์ได้เลือกเกิดในประเทศที่มีคุณสมบัติในการสืบทอดคำสอน ดังต่อไปนี้: # '''มีมุขปาฐะ''' คือ มีการเรียนแบบท่องจำก่อนเรียน, เนื่องจากคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นเรื่องเหตุผลที่ละเอียดลึกซึ้งมาก ถ้าไม่ท่องจำได้ก่อนเรียน จะทำให้ฟังเข้าใจไม่ครบถ้วน เหมือนนักเรียนที่เรียนวิชายากๆ แต่ท่องจำสูตรไม่ได้ เช่น เรียนเคมีแต่ท่องจำตารางธาตุไม่ได้ ก็จะงุนงงและเรียนไม่รู้เรื่อง เป็นต้น. # '''มีพระเวท''' คือ มีคำสอนเรื่องการฝึกตนสืบกันมาก่อนสมัยพุทธกาลในพระเวทของพราหมณ์. พราหมณ์แปลว่า "ลูกหลานพระพรหม". ฤๅษีชาวอารยัน ([http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=646&h=ขับตามบทมนต์นั้น,ส่วนพราหมณ์พวกอื่นเติมการฆ่าสัตว์เป็นต้นเข้าไป#hl อริยกะ]) เรียกตัวเองว่า พราหมณ์ เพราะเรียนพระเวทมาจาก[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=9&i=141&p=1&h=พวกเทวดาชั้นสุทธาวาสทราบว่า,ในเวททั้งหลาย#hl อนาคามีสุทธาวาสพรหม]. # '''มีตันติภาสา''' คือ มีภาษาที่กฎไวยากรณ์เคร่งครัดยากต่อการเข้าใจผิดทั้งตัวอักษรและโครงสร้างภาษา, ใน[https://en.wikipedia.org/wiki/Language_family ลิงก์นี้]จะเห็นได้ว่า ภาษาบาลีนั้นอยู่ในภาษากลุ่ม[[อินโดยูโรเปี้ยน]] ซึ่งใช้ในประเทศที่มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมายาวนานทั้งยุโรป เปอร์เซีย และอินเดีย. # '''อยู่ในยุคอภิปรัชญาเฟื่องฟู''' คือ เป็นยุคที่มีการแสวงหาทางดับทุกข์กันอย่างกว้างขวาง สืบเนื่องมาจากพระเวทได้กล่าวไว้. แต่'''ภาษาไทย'''และภาษาในคาบสมุทรอินโดจีนไม่ใช่ภาษาที่รองรับสภาวธรรม ทำให้มีปัญหาในการส่งผ่านความรู้จากรุ่นสู่รุ่น เช่น คนยุค 2561 แทบจะอ่านบุพพสิกขาวรรณนาไม่รู้เรื่องแล้ว. =การศึกษาของฆราวาส= ==รูปแบบดั้งเดิม== ไปวัดฟังพระแบบอนาถปิณฑิกะ รูปแแบใหม่ อ่านกันเอง ฟังไฟล์เสียง ==รูปแบบใหม่==