เนตติปกรณ์_02_หาระที่_01-08

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
เนตติปกรณ์_02_หาระที่_01-08 [2020/11/07 07:17]
dhamma [2. วิจยหารวิภังค์]
เนตติปกรณ์_02_หาระที่_01-08 [2022/05/08 12:35] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma [8. วิภัตติหารวิภังค์]
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>เนตติใหม่ head| }}{{wst>เตติใหม่ sidebar}}+{{template:เนตติใหม่ head| }}{{template:​ฉบับปรับสำวน head|}}
 {{ลบ|ท5 – นอกเหนือขอบเขต (ไม่ใช่งานต้นฉบับ)}} {{ลบ|ท5 – นอกเหนือขอบเขต (ไม่ใช่งานต้นฉบับ)}}
 ==ปฏินิทเทสวาระ== ==ปฏินิทเทสวาระ==
บรรทัด 309: บรรทัด 309:
 เพราะฉะนั้นพุทธบริษัทจะต้องสาธยายสูตรให้สมบูรณ์ด้วยอรรถะ ด้วยคำที่ตรงกับสภาวะ และควรวิจัยแยกแยะสูตร. สูตรนี้คือสูตรอะไร ? ควรแยกแยะอย่างนี้ คือ สูตรที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เอง,​ สูตรที่สาวกทั้งหลายกล่าวไว้,​ สูตรที่มีอรรถอันรู้ได้โดยตรง,​ สูตรที่มีอรรถอันนำคำอื่นมาอธิบายแล้วจึงรู้ได้,​ สูตรที่เป็นส่วนสังกิเลส,​ สูตรที่เป็นส่วนวาสนา,​ สูตรที่เป็นส่วนนิพเพธะ,​ สูตรที่เป็นส่วนอเสกขะ. พึงตรวจดูสัจจะทั้งหลายของสูตรนี้ในที่ไหน ? พึงตรวจดูในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ((ในขณะที่ทำการสวดสาธยายอนุคีตินั่นแหละ จะมีความเชื่อมโยงปุพพาปรสนธิอยู่ ให้หาสนธิเหล่านั้นในระหว่างสาธยาย เช่น เบื้องต้นเชื่อมโยงกับท่ามกลางอย่างไร ท่ามกลางเชื่อมโยงกับพี่สุดอย่างไร โดยอรรถะ โดยคำ เป็นต้น)). พึงแยกแยะวิจัยสูตรดังกล่าวมานั้นแหละ เพราะฉะนั้น พระมหากัจจายนเถระจึงกล่าวว่า “ยํ ปุจฺฉิตญฺจ วิสฺสชฺชิตญฺจ,​ สุตฺตสฺส ยา จ อนุคีติ (การวิจัยคำถามก็ดี การวิจัยคำตอบก็ดี การวิจัยการกล่าวโดยสมควรกับคำถามของสูตรก็ดี)” เพราะฉะนั้นพุทธบริษัทจะต้องสาธยายสูตรให้สมบูรณ์ด้วยอรรถะ ด้วยคำที่ตรงกับสภาวะ และควรวิจัยแยกแยะสูตร. สูตรนี้คือสูตรอะไร ? ควรแยกแยะอย่างนี้ คือ สูตรที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เอง,​ สูตรที่สาวกทั้งหลายกล่าวไว้,​ สูตรที่มีอรรถอันรู้ได้โดยตรง,​ สูตรที่มีอรรถอันนำคำอื่นมาอธิบายแล้วจึงรู้ได้,​ สูตรที่เป็นส่วนสังกิเลส,​ สูตรที่เป็นส่วนวาสนา,​ สูตรที่เป็นส่วนนิพเพธะ,​ สูตรที่เป็นส่วนอเสกขะ. พึงตรวจดูสัจจะทั้งหลายของสูตรนี้ในที่ไหน ? พึงตรวจดูในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ((ในขณะที่ทำการสวดสาธยายอนุคีตินั่นแหละ จะมีความเชื่อมโยงปุพพาปรสนธิอยู่ ให้หาสนธิเหล่านั้นในระหว่างสาธยาย เช่น เบื้องต้นเชื่อมโยงกับท่ามกลางอย่างไร ท่ามกลางเชื่อมโยงกับพี่สุดอย่างไร โดยอรรถะ โดยคำ เป็นต้น)). พึงแยกแยะวิจัยสูตรดังกล่าวมานั้นแหละ เพราะฉะนั้น พระมหากัจจายนเถระจึงกล่าวว่า “ยํ ปุจฺฉิตญฺจ วิสฺสชฺชิตญฺจ,​ สุตฺตสฺส ยา จ อนุคีติ (การวิจัยคำถามก็ดี การวิจัยคำตอบก็ดี การวิจัยการกล่าวโดยสมควรกับคำถามของสูตรก็ดี)”
  
-วิจยหาระ ท่านยกจากพระบาลีมาประกอบแล้ว +วิจยหาระ ท่านยกจากพระบาลีมาประกอบแล้ว ​((วิจยหาระนี้ พบอย่าย่อในพระไิฎและอรรถาหลาแห่ง เช่น เรื่องของการเรียนกรรมฐานในวิสุทธิมรรคที่ว่า
- +
-ตอนท้าย ​วิจยหารวิภัค์ ​ในเนติปกรณ์ +
- +
-((###​คำนั้นตนเรื่องของการเรียนกรรมฐานในวิสุทธิมรรคที่ว่า###+
  
 วิสุทธิมรรค บทที่ 3 กัมมัฏฐานัคคหณนิทเทส (บทที่ว่าด้วย "​วิธีเรียนกัมมัฏฐานจากพระอาจารย์กัมมัฏฐาน"​) วิสุทธิมรรค บทที่ 3 กัมมัฏฐานัคคหณนิทเทส (บทที่ว่าด้วย "​วิธีเรียนกัมมัฏฐานจากพระอาจารย์กัมมัฏฐาน"​)
บรรทัด 320: บรรทัด 316:
  
 "​1.คำนี้เป็นบทหลัง,​ คำนี้เป็นบทหน้า, ​ "​1.คำนี้เป็นบทหลัง,​ คำนี้เป็นบทหน้า, ​
 +
 2. ความหมายของบทนั้นๆ เป็นอย่างนี้, ​ 2. ความหมายของบทนั้นๆ เป็นอย่างนี้, ​
 +
 3.จุดมุ่งหมายของบทนั้นเป็นอย่างนี้, ​ 3.จุดมุ่งหมายของบทนั้นเป็นอย่างนี้, ​
-4. และบทนี้เป็นคำอุปมาอุปไมย"​ (จดจำได้ชำนาญนึกหัวถึงท้าย นึกท้ายถึงหัว เหมือนในบทธรรมคุณข้อว่า ความงาม ๓ ของปริยัติธรรม ได้แสดงไว้)))+ 
 +4. และบทนี้เป็นคำอุปมาอุปไมย"​ (จดจำได้ชำนาญนึกหัวถึงท้าย นึกท้ายถึงหัว เหมือนในบทธรรมคุณข้อว่า ความงาม ๓ ของปริยัติธรรม ได้แสดงไว้) ))
 ==3. ยุตติหารวิภังค์== ==3. ยุตติหารวิภังค์==
  
บรรทัด 647: บรรทัด 646:
 ในพระสูตรนั้น ธรรมที่ไม่ทั่วไป (อสาธารณะ) เป็นไฉน ในพระสูตรนั้น ธรรมที่ไม่ทั่วไป (อสาธารณะ) เป็นไฉน
  
-บุคคลพึงแสวงหาเสกขธรรมและอเสกขธรรม ด้วยอำนาจแห่งธรรมที่ควรละและไม่ควรละ โดยการเทียบเคียงกับเทศนาต่อไป กามราคะและพยาบาทเป็นสาธารณะแก่บุคคลผู้ตั้งอยู่ในปฐมมรรค แต่สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ2อุทธัมภาคิยสังโยชน์เป็นสาธารณะแก่ผู้ตั้งอยู่ในปฐมมรรค และอนาคามิมรรคสภาพธรรมเป็นอสาธารณะ ชื่อของพระเสกขะทั้งปวงเป็นสาธารณะ สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ ชื่อของผู้ดำเนินไปถึงอริยมรรคแล้วเป็นสาธารณะ สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ เสกขศีลของพระเสกขะทั้งปวงเป็นสาธารณะ สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ บัณฑิตพึงแสวงหาเทศนาโดยเทียบเคียงกับธรรมที่เลวปานกลางและอุกฤษฎ ์ ด้วยการพิจารณาความแตกต่างกัน ด้วยประการฉะนี้ ฯ+บุคคลพึงแสวงหาเสกขธรรมและอเสกขธรรม ด้วยอำนาจแห่งธรรมที่ควรละและไม่ควรละ โดยการเทียบเคียงกับเทศนาต่อไป กามราคะและพยาบาทเป็นสาธารณะแก่บุคคลผู้ตั้งอยู่ในปฐมมรรคและโสดาปัตติผล ​แต่สภาพธรรมคือมรรคกับผลเป็นอสาธารณะ 2อุทธัมภาคิยสังโยชน์เป็นสาธารณะแก่ผู้ตั้งอยู่ในปฐมมรรคและอนาคามิผล แต่สภาพธรรมคือมรรคกับผลเป็นอสาธารณะกัน ​ชื่อของพระเสกขะทั้งปวงเป็นสาธารณะ สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ ชื่อของผู้ดำเนินไปถึงอริยมรรคแล้วเป็นสาธารณะ สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ เสกขศีลของพระเสกขะทั้งปวงเป็นสาธารณะ สภาพธรรมเป็นอสาธารณะ บัณฑิตพึงแสวงหาเทศนาโดยเทียบเคียงกับธรรมที่เลวปานกลางและอุกฤษฎ ์ ด้วยการพิจารณาความแตกต่างกัน ด้วยประการฉะนี้ ฯ
  
 การจำแนกปทัฏฐานทัสสนภูมิ (ปฐมมรรค) เป็นปทัฏฐาน แห่งการก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ฯ การจำแนกปทัฏฐานทัสสนภูมิ (ปฐมมรรค) เป็นปทัฏฐาน แห่งการก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม ฯ