เนตติปกรณ์_01_สังคห-อุทเทส-นิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
เนตติปกรณ์_01_สังคห-อุทเทส-นิทเทส [2021/01/02 20:14]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
เนตติปกรณ์_01_สังคห-อุทเทส-นิทเทส [2021/08/12 04:45]
dhamma
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
  ​ตํ วิญฺเญยฺยํ อุภยํ,​ โก อตฺโถ พฺยญฺชนํ กตมํฯ  ​ตํ วิญฺเญยฺยํ อุภยํ,​ โก อตฺโถ พฺยญฺชนํ กตมํฯ
  
-พระพุทธพจน์ ​ คือ พระสูตรมี[[#​บท 12|12 องค์ประกอบ (บท)]], 12 บทนั้นแบ่งเป็น[[#​บท 12|พยัญชนบท (6)]] และ[[#​บท 12|อรรถบท (6)]] พหูสูตรควรเรียนรู้ทั้ง 12 บทนั้นว่า "​[[#​บท 12|พยัญชนะบท 6]] มีอะไรบ้าง?​ และ[[#​บท 12|อรรถบท 6]] มีอะไรบ้าง?"​+พระพุทธพจน์ ​ คือ พระสูตรมี [[#บท 12|12 องค์ประกอบ (บท)]], 12 บทนั้นแบ่งเป็น[[#​บท 12|พยัญชนบท (6)]] และ[[#​บท 12|อรรถบท (6)]] พหูสูตรควรเรียนรู้ทั้ง 12 บทนั้นว่า "​[[#​บท 12|พยัญชนะบท 6]] มีอะไรบ้าง?​ และ[[#​บท 12|อรรถบท 6]] มีอะไรบ้าง?"​
  
- '''​[[#​โสฬสหารา|โสฬสหารา]] ​เนตฺติ'''​, ปญฺจนยา สาสนสฺส ปริเยฏฺฐิ;​+ ​โสฬสหารา เนตฺติ,​ ปญฺจนยา สาสนสฺส ปริเยฏฺฐิ;​
  ​อฏฺฐารสมูลปทา,​ มหกจฺจาเนน นิทฺทิฏฺฐาฯ  ​อฏฺฐารสมูลปทา,​ มหกจฺจาเนน นิทฺทิฏฺฐาฯ
 คัมภีร์เนตติประกอบด้วย[[#​หารสังเขป|หาระ 16]], [[#​นัยสังเขป|นัย 5]], [[#​อุทเทสวาระ (สำหรับท่องจำ)|มูลบท 18]] ซึ่งพระมหากัจจายนเถระแสดงไว้เพื่อใช้พิจารณาพระสูตร. ​ คัมภีร์เนตติประกอบด้วย[[#​หารสังเขป|หาระ 16]], [[#​นัยสังเขป|นัย 5]], [[#​อุทเทสวาระ (สำหรับท่องจำ)|มูลบท 18]] ซึ่งพระมหากัจจายนเถระแสดงไว้เพื่อใช้พิจารณาพระสูตร. ​
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
  
 --------- ---------
- +*<​sub>​หาระ แปลว่า พาเข้าไป (หเร). นัย แปลว่า พาออกมา (นิหเร). หาระจะพาพหูสูตรเข้าไปเข้าใจพยัญชนะบท 6 ในพระสูตร,​ แล้วนัยก็จะพาพหูสูตรที่เข้าไปในพระสูตรด้วยหาระนั้น นำอรรถบท 6 (สภาวะธรรม) ติดมือออกมาจากพระสูตร.</​sub>​ 
-<sub><fs smaller>​ +*<sub>คำว่า โลก ในที่นี้หมายถึงหมู่สัตว์ ส่วนผู้รักษาโลก ได้แก่ท้าวมหาราช 4 พระองค์ คือ พระอินทร์ พระยม ท้าววรุณ และท้าวกุเวร อีกนัยหนึ่ง ได้แก่บุคคลผู้มีคุณธรรม 2 อย่าง คือ หิริ และโอตตัปปะ</​sub>​ 
-*หาระ แปลว่า พาเข้าไป (หเร). นัย แปลว่า พาออกมา (นิหเร). หาระจะพาพหูสูตรเข้าไปเข้าใจพยัญชนะบท 6 ในพระสูตร,​ แล้วนัยก็จะพาพหูสูตรที่เข้าไปในพระสูตรด้วยหาระนั้น นำอรรถบท 6 (สภาวะธรรม) ติดมือออกมาจากพระสูตร. +*<sub>พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนาไว้ 3 ประการ คือ ปริยัติศาสนา ปฏิบัติศาสนา และปฏิเวธศาสนา ใน 3 อย่างนั้น ปริยัติศาสนาชื่อว่า พระสูตร.</​sub>​ 
-*คำว่า โลก ในที่นี้หมายถึงหมู่สัตว์ ส่วนผู้รักษาโลก ได้แก่ท้าวมหาราช 4 พระองค์ คือ พระอินทร์ พระยม ท้าววรุณ และท้าวกุเวร อีกนัยหนึ่ง ได้แก่บุคคลผู้มีคุณธรรม 2 อย่าง คือ หิริ และโอตตัปปะ +*<sub>คำว่า เนตติ มีนิรุตติพยัญชนบทว่า นยตีติ เนตติ เนตฺติ = คัมภีร์ใดย่อมนำเวไนยสัตว์ทั้งหลายไปสู่มรรคผลนิพพาน เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ,​ หรือ นยนฺติ เอตายาติ เนตฺติ = บุคคลผู้แสดงธรรมทั้งหลายย่อมแนะนำเวไนยบุคคลด้วยคัมภีร์นี้ เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ,​ หรือ นียนฺติ เอตฺถาติ เนตฺติ = เวไนยบุคคลทั้งหลายอันบุคคลผู้แสดงธรรมย่อมแนะนำคัมภีร์นี้ เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ.</​sub>​ 
-*พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนาไว้ 3 ประการ คือ ปริยัติศาสนา ปฏิบัติศาสนา และปฏิเวธศาสนา ใน 3 อย่างนั้น ปริยัติศาสนาชื่อว่า พระสูตร. +*<sub>ปริยัติศาสนานั้นประกอบด้วยอรรถะและพยัญชนะ ดังมีคำที่กล่าวไว้ว่า "​สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสสิ = พระพุทธเจ้าทรงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมด้วยอรรถะและพยัญชนะ"</​sub>​
-*คำว่า เนตติ มีนิรุตติพยัญชนบทว่า นยตีติ เนตติ เนตฺติ = คัมภีร์ใดย่อมนำเวไนยสัตว์ทั้งหลายไปสู่มรรคผลนิพพาน เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ,​ หรือ นยนฺติ เอตายาติ เนตฺติ = บุคคลผู้แสดงธรรมทั้งหลายย่อมแนะนำเวไนยบุคคลด้วยคัมภีร์นี้ เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ,​ หรือ นียนฺติ เอตฺถาติ เนตฺติ = เวไนยบุคคลทั้งหลายอันบุคคลผู้แสดงธรรมย่อมแนะนำคัมภีร์นี้ เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ. +
-*ปริยัติศาสนานั้นประกอบด้วยอรรถะและพยัญชนะ ดังมีคำที่กล่าวไว้ว่า "​สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสสิ = พระพุทธเจ้าทรงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมด้วยอรรถะและพยัญชนะ"​ +
-</sub></fs>+
  
 ''​สังคหวาระ จบ''​ ''​สังคหวาระ จบ''​
บรรทัด 57: บรรทัด 54:
 ----- -----
  
-<SUB>​นิรุตติพยัญชนบทแสดงรูปวิเคราะห์ศัพท์. รูปวิเคราะห์แสดงสภาวะ (สิ่งที่มีองค์ประกอบ) ของศัพท์. ท่านจึงใช้คำว่า นย เพราะหาระแสดงพยัญชนะ ส่วนนยะแสดงสภาวะ. ไม่ได้หมายถึง นยะ 5, และไม่ได้หมายถึงสภาวธรรม. "​นย"​ที่นี้หมายถึงนิรุตติพยัญชนบท.</​SUB>+<sub>​นิรุตติพยัญชนบทแสดงรูปวิเคราะห์ศัพท์. รูปวิเคราะห์แสดงสภาวะ (สิ่งที่มีองค์ประกอบ) ของศัพท์. ท่านจึงใช้คำว่า นย เพราะหาระแสดงพยัญชนะ ส่วนนยะแสดงสภาวะ. ไม่ได้หมายถึง นยะ 5, และไม่ได้หมายถึงสภาวธรรม. "​นย"​ที่นี้หมายถึงนิรุตติพยัญชนบท.</​sub>
  
 ----- -----
บรรทัด 74: บรรทัด 71:
 ----- -----
  
-<​sub>​ดูคาถาสุดท้ายของ[[#​นัยสังเขป|นยสังเขป]]</​sub>​+<sub>*ดูคาถาสุดท้ายของ[[#​นัยสังเขป|นยสังเขป]]</​sub>​
  
 ----- -----
บรรทัด 106: บรรทัด 103:
 ----- -----
  
-<sub><fs smaller>+<sub>
 *คำว่า บท ในเนตติปกรณ์แปลว่า องค์ประกอบ;​องค์. *คำว่า บท ในเนตติปกรณ์แปลว่า องค์ประกอบ;​องค์.
-</sub></fs>+</​sub>​
  
 =นิทเทสวาระ= =นิทเทสวาระ=