วิสุทธิมรรค_23_ปัญญาภาวนานิสังสนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_23_ปัญญาภาวนานิสังสนิทเทส [2021/01/02 20:14]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_23_ปัญญาภาวนานิสังสนิทเทส [2023/06/24 06:54] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
  
 อนึ่ง ​ ปัญหากรรมใด ​ ที่เรากล่าวไว้ว่า ​ "​อะไร ​ เป็นอานิสงของปัญญา ​ (การทำวิปัสสนามรรคปัญญาให้เกิด) ​ (บัดนี้) เราจะกล่าวแก้ในปัญหากรรมนั้น (ต่อไป) อนึ่ง ​ ปัญหากรรมใด ​ ที่เรากล่าวไว้ว่า ​ "​อะไร ​ เป็นอานิสงของปัญญา ​ (การทำวิปัสสนามรรคปัญญาให้เกิด) ​ (บัดนี้) เราจะกล่าวแก้ในปัญหากรรมนั้น (ต่อไป)
 +
 +=ปัญญาเกิดต่อเนื่องจะได้อานิสงส์ 4=
  
 ความจริง ​ ขึ้นชื่อว่า ​ ปัญญาภาวนา ​ (คือการทำวิปัสสนามรรคให้เกิด) ​ นี้ ​ มี ​ อานิสงส์หลายร้อยอย่าง ​ การที่จะประกาศอานิสงส์ของปัญญาภาวนานั้นโดยพิสดารแม้ใช้เวลายาวนานก็ทำมิได้ง่าย ​ แต่พึงทราบอานิสงส์ของปัญญาภาวนานั้นโดยสังเขปไว้ดังนี้ ​ คือ ความจริง ​ ขึ้นชื่อว่า ​ ปัญญาภาวนา ​ (คือการทำวิปัสสนามรรคให้เกิด) ​ นี้ ​ มี ​ อานิสงส์หลายร้อยอย่าง ​ การที่จะประกาศอานิสงส์ของปัญญาภาวนานั้นโดยพิสดารแม้ใช้เวลายาวนานก็ทำมิได้ง่าย ​ แต่พึงทราบอานิสงส์ของปัญญาภาวนานั้นโดยสังเขปไว้ดังนี้ ​ คือ
บรรทัด 22: บรรทัด 24:
 4.    อาหุเนยฺยภาวาทิสิทฺธิ ​       สำเร็จความเป็นอาหุไนยบุคคลเป็นต้น 4.    อาหุเนยฺยภาวาทิสิทฺธิ ​       สำเร็จความเป็นอาหุไนยบุคคลเป็นต้น
  
-'''​[1.  นานากิเลสวิทฺธํสนํ – ทำลายกิเลสต่างๆ]'''​+==[ทำลายกิเลสต่างๆ]==
  
 ในอานิสงส์ทั้งหลายนั้น ​ การทำลายกิเลสต่างๆ ​ ใดโดยความเป็นสักกายทิฏฐิเป็นต้น ​ ที่เรากล่าวมาแล้วตั้งแต่นามรูปปริจเฉทญาณ ​ (ญาณกำหนดรู้นามรูป) ​ ข้อนี้พึงทราบว่า ​ เป็นอานิสงส์ของปัญญาภาวนาฝ่ายโลกิยะ ​ ทำลายกิเลสต่างๆ ​ ใดโดยความเป็นสังโยชน์เป็นต้นในขณะ ​ (บรรลุ) ​ พระอริยมรรค ​ ที่เรากล่าวมาแล้ว ​ ข้อนี้พึงทราบว่า ​ เป็นอานิสงส์ของปัญญาภาวนา ​ ฝ่ายโลกุตตระ ในอานิสงส์ทั้งหลายนั้น ​ การทำลายกิเลสต่างๆ ​ ใดโดยความเป็นสักกายทิฏฐิเป็นต้น ​ ที่เรากล่าวมาแล้วตั้งแต่นามรูปปริจเฉทญาณ ​ (ญาณกำหนดรู้นามรูป) ​ ข้อนี้พึงทราบว่า ​ เป็นอานิสงส์ของปัญญาภาวนาฝ่ายโลกิยะ ​ ทำลายกิเลสต่างๆ ​ ใดโดยความเป็นสังโยชน์เป็นต้นในขณะ ​ (บรรลุ) ​ พระอริยมรรค ​ ที่เรากล่าวมาแล้ว ​ ข้อนี้พึงทราบว่า ​ เป็นอานิสงส์ของปัญญาภาวนา ​ ฝ่ายโลกุตตระ
บรรทัด 60: บรรทัด 62:
 ซึ่งเป็นอานิสงส์ที่เห็นประจักษ์ด้วยตนเองนี้ ซึ่งเป็นอานิสงส์ที่เห็นประจักษ์ด้วยตนเองนี้
  
-'''​[2.  อริยผลรสานุภวํน-เสวยรสของพระอริยผล]'''​+==[เสวยรสของพระอริยผล]==
  
 ข้อว่า ​ "​เสวยรสของพระอริยผล" ​ หมายถึงว่า ​ และมิใช่แต่ทำลายกิเลสต่างๆอย่างเดียวเท่านั้น ​ แม้การเสวยรสของพระอริยผลก้เป็นอานิสงส์ของปัญญาภาวนาด้วยเช่นกัน ​ เพราะสามัญญผลมีโสดาปัตติผลเป็นต้น ​ ท่านเรียกว่า ​ "​พระอริยผล" ​ การเสวยรสของพระอริยผลนั้นมีอยู่โดย 2 อาการ ​ คือดำเนินไปในมรรควิถี ​ 1 ดำเนินไปในทางผลสมาบัติ 1  ใน 2  อาการนั้น การดำเนินไปในมรรควิถีของพระอริยผลนั้น ​ ได้ชี้แจงไว้เรียบร้อยแล้ว ​ (ตอนว่าด้วยมรรคญาณข้างต้น) ข้อว่า ​ "​เสวยรสของพระอริยผล" ​ หมายถึงว่า ​ และมิใช่แต่ทำลายกิเลสต่างๆอย่างเดียวเท่านั้น ​ แม้การเสวยรสของพระอริยผลก้เป็นอานิสงส์ของปัญญาภาวนาด้วยเช่นกัน ​ เพราะสามัญญผลมีโสดาปัตติผลเป็นต้น ​ ท่านเรียกว่า ​ "​พระอริยผล" ​ การเสวยรสของพระอริยผลนั้นมีอยู่โดย 2 อาการ ​ คือดำเนินไปในมรรควิถี ​ 1 ดำเนินไปในทางผลสมาบัติ 1  ใน 2  อาการนั้น การดำเนินไปในมรรควิถีของพระอริยผลนั้น ​ ได้ชี้แจงไว้เรียบร้อยแล้ว ​ (ตอนว่าด้วยมรรคญาณข้างต้น)
บรรทัด 72: บรรทัด 74:
 อีกทั้งมีคำพระบาลีว่าอย่างนี้ ​ คือ ​ ธรรมเหล่านี้ ​ คืออริยมรรค4 ​ และสามัญญผล 4.....เป็นธรรมมีอารมณ์หาประมาณมิได้"​ (และ) ​ "​มหัคคตธรรม ​ (เนวสัญญนาสัญญายตนะ) ​ เป็นปัจจัยโดยอนันตรปัจจัยแก่ธรรมหาประมาณมิได้" ​ ดังนี้ ​ เป็นต้น ​ เป็นคำสาธกในเรื่องนี้  ​ อีกทั้งมีคำพระบาลีว่าอย่างนี้ ​ คือ ​ ธรรมเหล่านี้ ​ คืออริยมรรค4 ​ และสามัญญผล 4.....เป็นธรรมมีอารมณ์หาประมาณมิได้"​ (และ) ​ "​มหัคคตธรรม ​ (เนวสัญญนาสัญญายตนะ) ​ เป็นปัจจัยโดยอนันตรปัจจัยแก่ธรรมหาประมาณมิได้" ​ ดังนี้ ​ เป็นต้น ​ เป็นคำสาธกในเรื่องนี้  ​
  
-'''​[ผลสมาบัติ]'''​+===[ผลสมาบัติ]===
  
 อนึ่ง ​ เพื่อแสดงความเป็นไปในผลสมาบัติของพระอริยผลนั้น ​ มีปัญหากรรม (คือการทำคำถาม) ​ อยู่ (5ข้อ) ​ ดังนี้ ​ คือ อนึ่ง ​ เพื่อแสดงความเป็นไปในผลสมาบัติของพระอริยผลนั้น ​ มีปัญหากรรม (คือการทำคำถาม) ​ อยู่ (5ข้อ) ​ ดังนี้ ​ คือ
บรรทัด 166: บรรทัด 168:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 450)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 450)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[3.  นิโรธสมาปตฺติสมาปชฺชนสมตฺถตา-'''​ +==[สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้]==
- +
-'''​สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้]'''​+
  
 ข้อว่า ​ "​สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้" ​ หมายถึงว่า ​ มีเพียงแต่เสวยรสของพระอริยผลอย่างเดียวเท่านั้น ​ แต่พึงทราบว่าแม้ความสามารถในการเข้านิโรธสมาบัติก็เป็นอานิสงส์ ​ ของปัญญาภาวนานี้ด้วย ข้อว่า ​ "​สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้" ​ หมายถึงว่า ​ มีเพียงแต่เสวยรสของพระอริยผลอย่างเดียวเท่านั้น ​ แต่พึงทราบว่าแม้ความสามารถในการเข้านิโรธสมาบัติก็เป็นอานิสงส์ ​ ของปัญญาภาวนานี้ด้วย
บรรทัด 269: บรรทัด 269:
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 456)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 456)''</​fs></​sub>​
 +
 +===อธิบายการเข้านิโรธสมาบัติ===
  
 '''​เข้านิโรธสมาบัตินั้นได้ ​ นี้คือความสังเขป ​ ในการเข้านิโรธสมาบัตินี้ ด้วยประการฉะนี้ ​ ส่วนความพิสดารมีดังต่อไปนี้ '''​ '''​เข้านิโรธสมาบัตินั้นได้ ​ นี้คือความสังเขป ​ ในการเข้านิโรธสมาบัตินี้ ด้วยประการฉะนี้ ​ ส่วนความพิสดารมีดังต่อไปนี้ '''​
บรรทัด 286: บรรทัด 288:
 ในวิปัสสนา 3  อย่างนั้น ​ วิปัสสนากำหนดรู้สังขาร ​ เป็นอย่างอ่อนหรืออย่างแก่ก็ตาม ​ เป็นปทัฏฐาน ​ (ทางบรรลุ) ​ แห่งมรรคด้วยเช่นกัน ​ วิปัสสนาของผลสมาบัติ ​ ต้องเป็นอย่างแก่จริงๆ ​ เช่นเดียวกับมรรคภาวนาจึงใช้ได้ ​ แต่วิปัสสนาของนิโรธสมาบัติ ​ ต้องไม่อ่อนเกินไป ​ ไม่แก่เกินไป ​ จึงใช้ได้ ในวิปัสสนา 3  อย่างนั้น ​ วิปัสสนากำหนดรู้สังขาร ​ เป็นอย่างอ่อนหรืออย่างแก่ก็ตาม ​ เป็นปทัฏฐาน ​ (ทางบรรลุ) ​ แห่งมรรคด้วยเช่นกัน ​ วิปัสสนาของผลสมาบัติ ​ ต้องเป็นอย่างแก่จริงๆ ​ เช่นเดียวกับมรรคภาวนาจึงใช้ได้ ​ แต่วิปัสสนาของนิโรธสมาบัติ ​ ต้องไม่อ่อนเกินไป ​ ไม่แก่เกินไป ​ จึงใช้ได้
  
-เพราะฉะนั้น ​ พระภิกษุนี้จึงกำหนดเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้นด้วยวิปัสสนา ​ ซึ่งไม่อ่อนเกินไป ​ ไม่แก่เกินไป ​ จากนั้นกเข้าทุติยญาณ ​ ครั้นออกแล้ว ​ กำหนดเห็นด้วยวิปัสสนาซึ่งสังขารทั้งหลาย ​ ในทุติยญาณนั้น ​ เหมือน ​ (เมื่อออกจากปฐมฌาน) ​ อย่างนั้นแหละ ​ จากนั้นก็เข้าวิปัสสนา ​ ซึ่งสังขารทั้งหลาย ​ ในวิญญาณนัญจายตนะเหมือนอย่างนั้นแหละ+เพราะฉะนั้น ​ พระภิกษุนี้จึงกำหนดเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้นด้วยวิปัสสนา ​ ซึ่งไม่อ่อนเกินไป ​ ไม่แก่เกินไป ​ จากนั้นกเข้าทุติยญาณ ​ ครั้นออกแล้ว ​ กำหนดเห็นด้วยวิปัสสนาซึ่งสังขารทั้งหลาย ​ ในทุติยญาณนั้น ​ เหมือน ​ (เมื่อออกจากปฐมฌาน) ​ อย่างนั้นแหละ ​ จากนั้นก็เข้าวิปัสสนา ​ ซึ่งสังขารทั้งหลาย ​ ในวิญญาณนัญจายตนะเหมือนอย่างนั้นแหละ
  
 '''​[บุพพกิจ 4  ในการเข้านิโรธสมาบัติ]'''​ '''​[บุพพกิจ 4  ในการเข้านิโรธสมาบัติ]'''​
บรรทัด 388: บรรทัด 390:
 ปัญญาในอริยมรรคทั้งหลาย ฉะนี้แล ปัญญาในอริยมรรคทั้งหลาย ฉะนี้แล
  
-'''​[4. ​ อาหุเนยฺยภาวาทิสิทฺธิ-'''​ +==สำเร็จความเป็นอาหุเยบุคคลเป็นต้น==
- +
-'''​สำเร็จความเป็นอาหนยบุคคลเป็นต้น]'''​+
  
-ข้อว่า ​ "​สำเร็จความเป็นอาหุนยบุคคลเป็นต้น" ​ หมายความว่า และมิใช่แต่เป็นผู้สามารถในการเข้านอโรธสมาบัติได้เพียงเท่านั้น ​ แต่ว่าแม้ความสำเร็จในความเป็นอาหุไนยบุคคลเป็นต้นนี้ก็พึงทราบว่าเป็นอานิสงส์ของโลกุตตรปัญญาภาวนานี้ด้วย ​ ความจริง ​ บุคคลผู้ทำปัญญาให้เกิดแล้ว ​ เพราะเหตุที่ตนเองทำโลกุตตรปัญญาแม้ทั้ง 4  อย่างนี้ให้เกิด ​ จึงเป็น+ข้อว่า ​ "​สำเร็จความเป็นอาหุยบุคคลเป็นต้น" ​ หมายความว่า และมิใช่แต่เป็นผู้สามารถในการเข้านอโรธสมาบัติได้เพียงเท่านั้น ​ แต่ว่าแม้ความสำเร็จในความเป็นอาหุไนยบุคคลเป็นต้นนี้ก็พึงทราบว่าเป็นอานิสงส์ของโลกุตตรปัญญาภาวนานี้ด้วย ​ ความจริง ​ บุคคลผู้ทำปัญญาให้เกิดแล้ว ​ เพราะเหตุที่ตนเองทำโลกุตตรปัญญาแม้ทั้ง 4  อย่างนี้ให้เกิด ​ จึงเป็น
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 463)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 463)''</​fs></​sub>​