วิสุทธิมรรค_21_ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_21_ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2020/06/27 16:27]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_21_ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}} 
 + 
 +=อุปักกิเลสวิมุตตอุทยัพพยญาณกถา=
  
 '''​ปริจเฉทที่ ​ 21 ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''​ '''​ปริจเฉทที่ ​ 21 ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''​
  
 '''​แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นในทางปฏิบัติถูก'''​ '''​แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นในทางปฏิบัติถูก'''​
 +
 +'''​[4. ​ (ข)  พลวอุทยพยญาณ ​ หรือ ​ อุทยพยญาณอย่างแก่]'''​
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 332)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 332)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 10: บรรทัด 14:
 แต่ทว่า ​ วิปัสสนาที่บรรลุถึงยอดด้วยญาณ ​ 8  และสัจจานุโลมิกญาณ ​ อันดับที่ ​ (9)  นี้ ​ เรียกชื่อว่า ​ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ​ คือ ​ ความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นในทางปฏิบัติถูก ​ และในคำว่า ​ "​ญาณ ​ 8" ​ นี้ ​ พึงทราบไว้ว่า ​ หมายถึงญาณ ​ 8  เหล่านี้คือ แต่ทว่า ​ วิปัสสนาที่บรรลุถึงยอดด้วยญาณ ​ 8  และสัจจานุโลมิกญาณ ​ อันดับที่ ​ (9)  นี้ ​ เรียกชื่อว่า ​ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ​ คือ ​ ความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นในทางปฏิบัติถูก ​ และในคำว่า ​ "​ญาณ ​ 8" ​ นี้ ​ พึงทราบไว้ว่า ​ หมายถึงญาณ ​ 8  เหล่านี้คือ
  
-4.    อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ (อย่างแก่) ​ ซึ่งเรียกว่า ​ วิปัสสนาที่พ้นจาก อุปกิ +4.    อุทยพยานุปัสสนาญาณ ​ (อย่างแก่) ​ ซึ่งเรียกว่า ​ วิปัสสนาที่พ้นจาก อุปกิเลสดำเนินไปตามวิถี ​ (ของวิปัสสนา) ​ (1)
- +
-เลสดำเนินไปตามวิถี ​ (ของวิปัสสนา) ​ (1)+
  
 5.    ภังคานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  ซึ่งความดับ(2) 5.    ภังคานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  ซึ่งความดับ(2)
บรรทัด 18: บรรทัด 20:
 6.    ภยตุปัฏฐานญาณ ​ ญาณกำหนดรู้โดยปรากฏเป็นของน่ากลัว ​ (3) 6.    ภยตุปัฏฐานญาณ ​ ญาณกำหนดรู้โดยปรากฏเป็นของน่ากลัว ​ (3)
  
-7.    อาทีนวานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  ซึ่งโทษชั่ว+7.    อาทีนวานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  ซึ่งโทษชั่วร้าย ​ (4)
  
-ร้าย ​ (4) +8.    นิพพิทานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  ด้วยความเบื่อหน่าย ​ (5)
- +
-8.    นิพพิทานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  ด้วยความ +
- +
-เบื่อหน่าย ​ (5)+
  
 9.    มุญจิตุกัมยตาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยความปรารถนาจะพ้นไป ​ (6) 9.    มุญจิตุกัมยตาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยความปรารถนาจะพ้นไป ​ (6)
บรรทัด 30: บรรทัด 28:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 333)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 333)''</​fs></​sub>​
  
-10.    ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  โดยพิจาร +10.    ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการเห็นเนือง ​ ๆ  โดยพิจารณาทบทวน ​ (7)
- +
-ณาทบทวน ​ (7)+
  
 11.    สังขารุเปกขาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการวางเฉยในสังขาร ​ (8) 11.    สังขารุเปกขาญาณ ​ ญาณกำหนดรู้ด้วยการวางเฉยในสังขาร ​ (8)
  
 '''​คำว่า ​ "​สัจจานุโมลิกญาณ ​ อันดับที่ ​ (9)" ​ นั้นเป็นคำเรียก ​ อนุโลมญาณ ​ เพราะฉะนั้นโยคาวจรผู้ปรารถนาบรรลุอนุโลมญาณนั้น ​ จะต้องกระทำโยคะในญาณทั้งหลายดังกล่าวนี้ตั้งแต่ ​ อุทยพยญาณ ​ (อย่างแก่) ​ ซึ่งพ้นแล้วจากอุปกิเลส ​ เป็นต้นไป'''​ '''​คำว่า ​ "​สัจจานุโมลิกญาณ ​ อันดับที่ ​ (9)" ​ นั้นเป็นคำเรียก ​ อนุโลมญาณ ​ เพราะฉะนั้นโยคาวจรผู้ปรารถนาบรรลุอนุโลมญาณนั้น ​ จะต้องกระทำโยคะในญาณทั้งหลายดังกล่าวนี้ตั้งแต่ ​ อุทยพยญาณ ​ (อย่างแก่) ​ ซึ่งพ้นแล้วจากอุปกิเลส ​ เป็นต้นไป'''​
- 
-[4.  (ข)  พลวอุทยพยญาณ ​ หรือ ​ อุทยพยญาณอย่างแก่] 
  
 หากมีคำถามว่า ​ กระทำโยคะในอุทยพยญาณต่อไปอีก ​ มีประโยชน์อะไร ​ ? หากมีคำถามว่า ​ กระทำโยคะในอุทยพยญาณต่อไปอีก ​ มีประโยชน์อะไร ​ ?
บรรทัด 72: บรรทัด 66:
 '''​ในวิภาคนั้น'''​ '''​ในวิภาคนั้น'''​
  
-1.    ขันธ์ ​ 5  ชื่อว่า ​ อนิจจะ ​ (ถาม) ​ เพราะเหตุไร ​ ?  (ตอบ) ​ เพราะเกิดขึ้น  ​+1.    ขันธ์ ​ 5  ชื่อว่า ​ อนิจจะ ​ (ถาม) ​ เพราะเหตุไร ​ ?  (ตอบ) ​ เพราะเกิดขึ้น  ​ดับไป และมีความเป็นอย่างอื่น ​ หรือว่า ​ เพราะมีแล้วหามีไม่ ​ (ได้แก่ เพราะเกิดแล้วดับไป)
  
-ดับไปและมีความเป็นอย่างอื่น ​ หรือว่า ​ เพรามีแล้วหามีไม่ ​ (ก่ ​ +2.    ความเกิดขึ้น  ​ดับไป ​ และความเป็นอย่างอื่น ​ ​เป็น ​ อนิจจลักษณะ ​ ​หรือว่าอาการและิการ  ​กล่วคือ ​ ความมีแล้วหามีไม่ ​ (เกิดแล้วดับไป) ​ เป็นอนิจจลักษณะ
  
-เพราะเกิดแล้วดับไป) +3.    แต่ขันธ์ ​ 5  นั้นนั่นแลเป็น ​ ทุกขะ ​ เพราะมีพระพุทธดำรัสอยู่ว่า ​ "​ยทนิจฺจํ ​ ตํทุกฺขํ ​ -  สิ่งใดไม่เที่ยง ​ สิ่งนั้นเป็นทุกข์" ​ เพราะเหตุไร ​ ?  เพราะเบียดเบียนเฉพาะหน้าเนือง ​ ๆ
- +
-2.    ความเกิดขึ้น ​ ดับไป ​ และความเป็นอย่างอื่น ​ เป็น ​ อนิจจลักษณะ ​ หรือว่า +
- +
-อาการและพิการ ​ กล่าวคือ ​ ความมีแล้วหามีไม่ ​ (เกิดแล้วดับไป) ​ เป็น +
- +
-อนิจจลักษณะ +
- +
-3.    แต่ขันธ์ ​ 5  นั้นนั่นแลเป็น ​ ทุกขะ ​ เพราะมีพระพุทธดำรัสอยู่ว่า ​ "​ยทนิจฺ +
- +
-จํ ​ ตํทุกฺขํ ​ -  สิ่งใดไม่เที่ยง ​ สิ่งนั้นเป็นทุกข์" ​ เพราะเหตุไร ​ ?  เพราะเบียด +
- +
-เบียนเฉพาะหน้าเนือง ​ ๆ+
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 335)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 335)''</​fs></​sub>​
- 
-'''​20. ​   ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''​ 
  
 4.    อาการเบียดเบียนเฉพาะหน้าเนือง ​ ๆ  เป็น ​ ทุกขลักษณะ 4.    อาการเบียดเบียนเฉพาะหน้าเนือง ​ ๆ  เป็น ​ ทุกขลักษณะ
  
-5.    และขันธ์ ​ 5  นั้นนั่นเอง ​ ชื่อว่าเป็น ​ อนัตตา ​ เพราะมีพระพุทธดำรัสอยู่ +5.    และขันธ์ ​ 5  นั้นนั่นเอง ​ ชื่อว่าเป็น ​ อนัตตา ​ เพราะมีพระพุทธดำรัสอยู่ว่า ​ "​ยํ ​ ทุกฺขํ ​ ตทนตฺตา ​ -  สิ่งใดเป็นทุกข์ ​ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา" ​ เพราะเหตุไร ​ ?  เพราะไม่เป็นไปในอำนาจ
- +
-ว่า ​ "​ยํ ​ ทุกฺขํ ​ ตทนตฺตา ​ -  สิ่งใดเป็นทุกข์ ​ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา" ​ เพราะ +
- +
-เหตุไร ​ ?  เพราะไม่เป็นไปในอำนาจ+
  
 6.    อาการไม่เป็นไปในอำนาจ ​ เป็น ​ อนัตตลักษณะ 6.    อาการไม่เป็นไปในอำนาจ ​ เป็น ​ อนัตตลักษณะ
บรรทัด 106: บรรทัด 82:
 โยคาวจรนี้กำหนดรู้วิภาคนี้นั้นอยู่แม้ทั้งหมด ​ ด้วย ​ อุทยพยญาณ ​ (อย่างแก่) ​ ที่ท่านเรียกว่า ​ วิปัสสนาซึ่งพ้นไปแล้วจากอุปกิเลส ​ ดำเนินไปตามวิถี ​ โดยหน้าที่ของตนตามเป็นจริง โยคาวจรนี้กำหนดรู้วิภาคนี้นั้นอยู่แม้ทั้งหมด ​ ด้วย ​ อุทยพยญาณ ​ (อย่างแก่) ​ ที่ท่านเรียกว่า ​ วิปัสสนาซึ่งพ้นไปแล้วจากอุปกิเลส ​ ดำเนินไปตามวิถี ​ โดยหน้าที่ของตนตามเป็นจริง
  
-'''​จบ ​ อุทยพยานุปัสสนาญาณ'''​+'''​จบ  ​อุปักกิเลสวิมุตตอุทยัพพยญาณกถา'''​
  
-'''​[5.  ​ภังคานุปัสสนาญาณ]'''​+=ภังคานุปัสสนาญาณกถา=
  
 เมื่อโยคาวจรนั้นกำหนดรู้อย่างนี้แล้วชั่งใจ ​ ไตร่ตรองรูปธรรมและอรูปธรรม ​ (รูปและนาม) ​ ทั้งหลายว่า ​ ไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา ​ อยู่แล้ว ​ ๆ  เล่า ​ ๆ  ญาณนั้นกำดำเนินไปแก่กล้า ​ สังขารทั้งหลายก็ปรากฏรวดเร็ว ​ เมื่อญาณดำเนินไปแก่กล้า ​ เมื่อสังขารทั้งหลายปรากฏรวดเร็ว ​ ญาณก็ตามไม่ทันความเกิดขึ้น ​ หรือความตั้งอยู่ ​ หรือความเป็นไป ​ หรือนิมิต ​ (ของสังขารทั้งหลาย) ​ สติ ​ (คือญาณ) ​  ​ก็ตั้งมั่นอยู่ในนิโรธคือความสิ้นไป ​ ความเสื่อมไปและความแตกทำลายไปแต่อย่างเดียว เมื่อโยคาวจรนั้นกำหนดรู้อย่างนี้แล้วชั่งใจ ​ ไตร่ตรองรูปธรรมและอรูปธรรม ​ (รูปและนาม) ​ ทั้งหลายว่า ​ ไม่เที่ยง ​ เป็นทุกข์ ​ เป็นอนัตตา ​ อยู่แล้ว ​ ๆ  เล่า ​ ๆ  ญาณนั้นกำดำเนินไปแก่กล้า ​ สังขารทั้งหลายก็ปรากฏรวดเร็ว ​ เมื่อญาณดำเนินไปแก่กล้า ​ เมื่อสังขารทั้งหลายปรากฏรวดเร็ว ​ ญาณก็ตามไม่ทันความเกิดขึ้น ​ หรือความตั้งอยู่ ​ หรือความเป็นไป ​ หรือนิมิต ​ (ของสังขารทั้งหลาย) ​ สติ ​ (คือญาณ) ​  ​ก็ตั้งมั่นอยู่ในนิโรธคือความสิ้นไป ​ ความเสื่อมไปและความแตกทำลายไปแต่อย่างเดียว
บรรทัด 272: บรรทัด 248:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 343)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 343)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[6.  ​ภยตุปัฏฐานญาณ]'''​+=ภยตุปัฏฐานญาณกถา=
  
 เมื่อโยคีนั้น ​ เสพอยู่เนือง ​ ๆ  ทำให้เกิดขึ้น ​ ทำให้มาก ​ ๆ  ซึ่งภังคานุปัสสนา ​ มีนิโรธ ​ คือความสิ้นไป ​ ความเสื่อมไป ​ และความแตกดับของสังขารทั้งปวงเป็นอารมณ์อยู่อย่างนี้ ​ สังขารทั้งหลายซึ่งมีความแตกดับ ​ (บรรดามีอยู่) ​ ในภพ ​ (3)  กำเนิด ​ (4)  คติ ​ (5)  วิญญาณฐิติ ​ (7)  สัตตาวาส ​ (9)  ทุกหนทุกแห่ง ​ ก็ปรากฏเป็นที่น่ากลัวมาก ​ เช่นเดียวกับสีหะ ​ พยัคฆะ ​ เสือเหลือง ​ หมี ​ เสือดาว ​ ยักษ์ ​ รากษส ​ โคดุ ​ สุนัขดุ ​ ช้างดุตกมัน ​ อสรพิษร้าย ​ สายฟ้า ​ ป่าช้า ​ สนามรบ ​ และหลุมถ่านเพลิงที่ลุกโชติช่วงเป็นต้น ​ ปรากฏเป็นที่น่ากลัวมากแก่บุรุษขลาด ​ ผู้ปรากรถนาดำรงชีวิตอยู่โดยสุขสบาย ​ เมื่อโยคีนั้นเห็นอยู่ว่า ​ "​สังขารทั้งหลายที่เป็นอดีตก็ดับไปแล้ว ​ ที่เป็นปัจจุบันก็กำลังดับอยู่ ​ ถึงแม้สังขารทั้งหลายที่จะบังเกิดขึ้นในอนาคต ​ ก็จะดับไป" ​ ดังนี้ ​ ณ  ที่ตรงนี้ ​ ญาณชื่อว่า ​ ภยตุปัฏฐานญาณ ​ บังเกิดขึ้น เมื่อโยคีนั้น ​ เสพอยู่เนือง ​ ๆ  ทำให้เกิดขึ้น ​ ทำให้มาก ​ ๆ  ซึ่งภังคานุปัสสนา ​ มีนิโรธ ​ คือความสิ้นไป ​ ความเสื่อมไป ​ และความแตกดับของสังขารทั้งปวงเป็นอารมณ์อยู่อย่างนี้ ​ สังขารทั้งหลายซึ่งมีความแตกดับ ​ (บรรดามีอยู่) ​ ในภพ ​ (3)  กำเนิด ​ (4)  คติ ​ (5)  วิญญาณฐิติ ​ (7)  สัตตาวาส ​ (9)  ทุกหนทุกแห่ง ​ ก็ปรากฏเป็นที่น่ากลัวมาก ​ เช่นเดียวกับสีหะ ​ พยัคฆะ ​ เสือเหลือง ​ หมี ​ เสือดาว ​ ยักษ์ ​ รากษส ​ โคดุ ​ สุนัขดุ ​ ช้างดุตกมัน ​ อสรพิษร้าย ​ สายฟ้า ​ ป่าช้า ​ สนามรบ ​ และหลุมถ่านเพลิงที่ลุกโชติช่วงเป็นต้น ​ ปรากฏเป็นที่น่ากลัวมากแก่บุรุษขลาด ​ ผู้ปรากรถนาดำรงชีวิตอยู่โดยสุขสบาย ​ เมื่อโยคีนั้นเห็นอยู่ว่า ​ "​สังขารทั้งหลายที่เป็นอดีตก็ดับไปแล้ว ​ ที่เป็นปัจจุบันก็กำลังดับอยู่ ​ ถึงแม้สังขารทั้งหลายที่จะบังเกิดขึ้นในอนาคต ​ ก็จะดับไป" ​ ดังนี้ ​ ณ  ที่ตรงนี้ ​ ญาณชื่อว่า ​ ภยตุปัฏฐานญาณ ​ บังเกิดขึ้น
บรรทัด 304: บรรทัด 280:
 '''​จบ ​ ภยตุปัฏฐานญาณ'''​ '''​จบ ​ ภยตุปัฏฐานญาณ'''​
  
-'''​[7.  ​อาทีนวานุปัสสนาญาณ]'''​+=อาทีนวานุปัสสนาญาณกถา=
  
 เมื่อโยคีนั้น ​ เสพอยู่เนือง ​ ๆ  ทำให้เกิดอยู่ ​ ทำให้มาก ​ ๆ  อยู่ ​ ซึ่งภยตุปัฏฐานญาณนั้นก็ปรากฏว่า ​ ในภพ ​ (3)  กำเนิด ​ (4)  คติ ​ (5)  ฐิติ ​ (7)  สัตตาวาส ​ (9)  ทั่วทุกหนทุกแห่ง เมื่อโยคีนั้น ​ เสพอยู่เนือง ​ ๆ  ทำให้เกิดอยู่ ​ ทำให้มาก ​ ๆ  อยู่ ​ ซึ่งภยตุปัฏฐานญาณนั้นก็ปรากฏว่า ​ ในภพ ​ (3)  กำเนิด ​ (4)  คติ ​ (5)  ฐิติ ​ (7)  สัตตาวาส ​ (9)  ทั่วทุกหนทุกแห่ง
บรรทัด 410: บรรทัด 386:
 '''​เป็นวัตถุ ​ คำว่า ​ "​ด้วยความเป็นผู้ฉลาดในญาณ ​ 2" ​ ความว่า ​ ด้วยความเป็นผู้ฉลาดในญาณ ​ 2  เหล่านี้ ​ คือ ​ อาทีนวญาณ ​ 1  และ ​ สันติปทญาณ ​ 1  คำว่า ​ "​ไม่หวั่นไหวในทิฏฐิต่าง ​ ๆ" ​ ความว่า ​ ไม่ส่ายไปส่ายมาในทิฏฐิทั้งหลาย ​ ซึ่งเป็นไปด้วยความเห็นผิดว่า ​ พระนิพพานเป็นบรมทิฏฐธรรม ​ เป็นต้น ​ คำที่ยังเหลืออยู่ในพระบาลีนี้ ​ เป็นคำมีความหมายง่าย ​ ๆ  ทั้งนั้นแหละ'''​ '''​เป็นวัตถุ ​ คำว่า ​ "​ด้วยความเป็นผู้ฉลาดในญาณ ​ 2" ​ ความว่า ​ ด้วยความเป็นผู้ฉลาดในญาณ ​ 2  เหล่านี้ ​ คือ ​ อาทีนวญาณ ​ 1  และ ​ สันติปทญาณ ​ 1  คำว่า ​ "​ไม่หวั่นไหวในทิฏฐิต่าง ​ ๆ" ​ ความว่า ​ ไม่ส่ายไปส่ายมาในทิฏฐิทั้งหลาย ​ ซึ่งเป็นไปด้วยความเห็นผิดว่า ​ พระนิพพานเป็นบรมทิฏฐธรรม ​ เป็นต้น ​ คำที่ยังเหลืออยู่ในพระบาลีนี้ ​ เป็นคำมีความหมายง่าย ​ ๆ  ทั้งนั้นแหละ'''​
  
-'''​จบ ​ อาทีนวานุปัสสนาญาณ'''​+'''​จบ ​ อาทีนวานุปัสสนาญาณกถา'''​
  
-'''​[8.  ​นิพพิทานุปัสสนาญาณ]'''​+=นิพพิทานุปัสสนาญาณกถา=
  
 เมื่อโยคีนั้นเห็นสังขารทั้งปวงโดยความเป็นโทษอยู่อย่างนี้ ​ ก็เบื่อหน่าย ​ เอือมระอา ​ ไม่อภิรมย์ในสังขารอันมีการแตกดับ ​ ซึ่งดำเนินอยู่ในภพ ​ (3)  กำเนิด ​ (4)  คติ ​ (5)  วิญญาณฐิติ ​ (7)  สัตตาวาส ​ (9)  ทั่วทุกหนทุกแห่ง ​ เปรียบเหมือนพญาหงส์ทอง ​ ผู้อภิรมย์ยินดีอยู่ ​ ณ  เชิงภูเขาจิตรกูฏ ​ ไม่อภิรมย์ยินดีในบ่อน้ำสกปรกใกล้ประตูบ้านคนจัณฑาล ​ อภิรมย์ยินดีอยู่แต่ในสระใหญ่ทั้ง ​ 7  (ในป่าหิมพานต์) ​ เท่านั้น ​ ชื่อแม้ฉันใด ​ พญาหงส์ ​ คือโยคีแม้นี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ​ ไม่อภิรมย์ยินดีในสังขารซึ่งมีแต่การแตกดับ ​ มีโทษร้าย ​ ซึ่งตนได้กำหนดเห็นมาอย่างดีแล้ว ​ แต่ทว่า ​ ยินดีอยู่ในอนุปัสสนาทั้งหลาย ​ 7  เท่านั้น ​ เพราะเป็นผู้ประกอบแล้วด้วยความเป็นผู้มีภาวนาเป็นที่ยินดี ​ (และ) ​ ด้วยความยินดีในภาวนา ​ อนึ่ง ​ เปรียบเหมือนสีหะมฤคราชที่ถูกเขาขังไว้แม้ในกรงทอง ​ ก็ไม่อภิรมย์ยินดี ​ แต่ทว่า ​ ยินดีพอใจอยู่แต่ในป่าหิมพานต์กว้าง ​ 3,000  โยชน์เท่านั้น ​ ฉันใด ​ สีหะมฤคราช ​ คือโยคีนี้ ​ ก็ฉันนั้น ​ ไม่อภิรมย์ยินดีแม้ในสุคติภพทั้ง ​ 3  อย่าง ​ แต่ทว่ายินดีอยู่แต่ในอนุปัสสนา ​ 3  เท่านั้น ​ อนึ่ง ​ เปรียบเหมือนพญาช้างฉัททันต์ ​ เผือกทั่วสรรพางค์ ​ มีอวัยวะ ​ 7  จรดถึงพื้น ​ มีฤทธิ์ ​ เหาะไปได้ในเวหาสก็ไม่อภิรมย์ยินดีอยู่ในท่ามกลางพระนคร ​ อภิรมย์ยินดีอยู่แต่ในป่าชัฏริมสระฉัททันต์ ​ ในป่าหิมพานต์เท่านั้น ​ ฉันใด ​ พญาช้างตัวประเสริฐคือโยคีผู้นี้ ​ ก็ฉันนั้น ​ ไม่อภิรมย์ยินดีในสังขารแม้ทั้งปวง ​ อภิรมย์ยินดีอยู่แต่ในพระนิพพาน ​ อันเป็นสันติบทที่ตนเห็นแล้วโดยนัยเป็นต้นว่า ​ "​ความไม่เกิดขึ้นเป็นแดนเกษม" ​ เป็นผู้มีใจน้อมไปในพระนิพพานนั้น เมื่อโยคีนั้นเห็นสังขารทั้งปวงโดยความเป็นโทษอยู่อย่างนี้ ​ ก็เบื่อหน่าย ​ เอือมระอา ​ ไม่อภิรมย์ในสังขารอันมีการแตกดับ ​ ซึ่งดำเนินอยู่ในภพ ​ (3)  กำเนิด ​ (4)  คติ ​ (5)  วิญญาณฐิติ ​ (7)  สัตตาวาส ​ (9)  ทั่วทุกหนทุกแห่ง ​ เปรียบเหมือนพญาหงส์ทอง ​ ผู้อภิรมย์ยินดีอยู่ ​ ณ  เชิงภูเขาจิตรกูฏ ​ ไม่อภิรมย์ยินดีในบ่อน้ำสกปรกใกล้ประตูบ้านคนจัณฑาล ​ อภิรมย์ยินดีอยู่แต่ในสระใหญ่ทั้ง ​ 7  (ในป่าหิมพานต์) ​ เท่านั้น ​ ชื่อแม้ฉันใด ​ พญาหงส์ ​ คือโยคีแม้นี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ​ ไม่อภิรมย์ยินดีในสังขารซึ่งมีแต่การแตกดับ ​ มีโทษร้าย ​ ซึ่งตนได้กำหนดเห็นมาอย่างดีแล้ว ​ แต่ทว่า ​ ยินดีอยู่ในอนุปัสสนาทั้งหลาย ​ 7  เท่านั้น ​ เพราะเป็นผู้ประกอบแล้วด้วยความเป็นผู้มีภาวนาเป็นที่ยินดี ​ (และ) ​ ด้วยความยินดีในภาวนา ​ อนึ่ง ​ เปรียบเหมือนสีหะมฤคราชที่ถูกเขาขังไว้แม้ในกรงทอง ​ ก็ไม่อภิรมย์ยินดี ​ แต่ทว่า ​ ยินดีพอใจอยู่แต่ในป่าหิมพานต์กว้าง ​ 3,000  โยชน์เท่านั้น ​ ฉันใด ​ สีหะมฤคราช ​ คือโยคีนี้ ​ ก็ฉันนั้น ​ ไม่อภิรมย์ยินดีแม้ในสุคติภพทั้ง ​ 3  อย่าง ​ แต่ทว่ายินดีอยู่แต่ในอนุปัสสนา ​ 3  เท่านั้น ​ อนึ่ง ​ เปรียบเหมือนพญาช้างฉัททันต์ ​ เผือกทั่วสรรพางค์ ​ มีอวัยวะ ​ 7  จรดถึงพื้น ​ มีฤทธิ์ ​ เหาะไปได้ในเวหาสก็ไม่อภิรมย์ยินดีอยู่ในท่ามกลางพระนคร ​ อภิรมย์ยินดีอยู่แต่ในป่าชัฏริมสระฉัททันต์ ​ ในป่าหิมพานต์เท่านั้น ​ ฉันใด ​ พญาช้างตัวประเสริฐคือโยคีผู้นี้ ​ ก็ฉันนั้น ​ ไม่อภิรมย์ยินดีในสังขารแม้ทั้งปวง ​ อภิรมย์ยินดีอยู่แต่ในพระนิพพาน ​ อันเป็นสันติบทที่ตนเห็นแล้วโดยนัยเป็นต้นว่า ​ "​ความไม่เกิดขึ้นเป็นแดนเกษม" ​ เป็นผู้มีใจน้อมไปในพระนิพพานนั้น
บรรทัด 422: บรรทัด 398:
 อนึ่ง ​ นิพพิทาญาณนี้นั้น ​ โดยความหมายก็เป็นญาณเดียวกันกับ 2  ญาณข้างต้น ​ (คือ ​ ภยตุปัฎฐานญาณและอาทีนวญาณ) ​ เพราะเหตุนั้น ​ ท่านพระโบราณจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า ​ "​ภยตุปัฎฐานญาณเดียวนั่นแล ​ ได้ชื่อ 3  ชื่อ ​ คือ ​ ชื่อว่าภยตุปัฎฐาน ​ เพราะเห็นสังขารทั้งปวงโดยความน่ากลัว 1  ชื่อว่าอาทีนวานุปัสสนา เพราะให้เกิด ​ (ความเห็น) โทษร้ายขึ้นในสังขารทั้งหลายเหล่านั้นนั่นเอง 1 ชื่อว่านิพพิทานุปัสสนา ​ เพราะบังเกิดเบื่อหน่าย ​ ขึ้นแล้วในสังขารทั้งหลายเหล่านั้นนั่นแล 1" ​ แม้ในพระบาลี ​ ท่านก็กล่าวไว้ว่า ​ "​ปัญญาใด ​ ในภยตุปัฎฐาน ​ 1 ญาณใดในอาทีนวะ 1  นิพพิทาใด 1  ธรรมทั้งหลายเหล่านี้มีความหมายอย่างเดียวกัน ​ พยัญชนะเท่านั้นที่ต่างกัน"​ อนึ่ง ​ นิพพิทาญาณนี้นั้น ​ โดยความหมายก็เป็นญาณเดียวกันกับ 2  ญาณข้างต้น ​ (คือ ​ ภยตุปัฎฐานญาณและอาทีนวญาณ) ​ เพราะเหตุนั้น ​ ท่านพระโบราณจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า ​ "​ภยตุปัฎฐานญาณเดียวนั่นแล ​ ได้ชื่อ 3  ชื่อ ​ คือ ​ ชื่อว่าภยตุปัฎฐาน ​ เพราะเห็นสังขารทั้งปวงโดยความน่ากลัว 1  ชื่อว่าอาทีนวานุปัสสนา เพราะให้เกิด ​ (ความเห็น) โทษร้ายขึ้นในสังขารทั้งหลายเหล่านั้นนั่นเอง 1 ชื่อว่านิพพิทานุปัสสนา ​ เพราะบังเกิดเบื่อหน่าย ​ ขึ้นแล้วในสังขารทั้งหลายเหล่านั้นนั่นแล 1" ​ แม้ในพระบาลี ​ ท่านก็กล่าวไว้ว่า ​ "​ปัญญาใด ​ ในภยตุปัฎฐาน ​ 1 ญาณใดในอาทีนวะ 1  นิพพิทาใด 1  ธรรมทั้งหลายเหล่านี้มีความหมายอย่างเดียวกัน ​ พยัญชนะเท่านั้นที่ต่างกัน"​
  
-'''​จบ ​ นิพพิทานุปัสสนาญาณ'''​+'''​จบ ​ นิพพิทานุปัสสนาญาณกถา'''​
  
-'''​(9.  ​มุญจิตุกัมยตาญาณ)'''​+=มุญจิตุกัมยตาญาณกถา=
  
 แต่เมื่อกุลบุตรผู้นี้ ​ เบื่อหน่ายอยู่ ​ เอือมระอาอยู่ ​ ไม่ภิรมย์ยินดีอยู่ด้วยนิพพิทาญาณนี้ ​ จิตก็ไม่ข้อง ​ ไม่เกาะ ​ ไม่ติดอยู่ ​ ในสังขารทั้งหลาย ​ ซึ่งมีความแตกดับ ​ ที่ดำเนินไปอยู่ในภพ (3)  กำเนิด (4) วิญญาณฐิติ (7) และ ​ สัตตาวาส (9)    ทุกหนทุกแห่ง ​ แม้แต่สังขารเดียวเป็นจิตที่ใคร่จะพ้นไป ​ ปรารถนาจะออกไปเสียจากสังขารทั้งปวง แต่เมื่อกุลบุตรผู้นี้ ​ เบื่อหน่ายอยู่ ​ เอือมระอาอยู่ ​ ไม่ภิรมย์ยินดีอยู่ด้วยนิพพิทาญาณนี้ ​ จิตก็ไม่ข้อง ​ ไม่เกาะ ​ ไม่ติดอยู่ ​ ในสังขารทั้งหลาย ​ ซึ่งมีความแตกดับ ​ ที่ดำเนินไปอยู่ในภพ (3)  กำเนิด (4) วิญญาณฐิติ (7) และ ​ สัตตาวาส (9)    ทุกหนทุกแห่ง ​ แม้แต่สังขารเดียวเป็นจิตที่ใคร่จะพ้นไป ​ ปรารถนาจะออกไปเสียจากสังขารทั้งปวง
บรรทัด 454: บรรทัด 430:
 '''​เป็นผู้มีความปรารถนาจะพ้นไป ​ มีความมุ่งมั่นจะออกไปเสียจากที่นั้น ๆ  ชื่อฉันใด ​ จิตของโยคีผู้นั้น ​ ก็ฉันนั้น ​ เป็นจิตปรารถนาจะพ้นไป ​ ประสงค์จะออกไปเสียจากสังขารทั้งปวง ​ ทันใดนั้น ​ ครั้นโยคีท่านนั้น ​ ผู้ปราศจากความอาลัยในสังขารทั้งปวงแล้ว ​ ผู้ปรารถนาจะพ้นไปจากสังขารทั้งปวงอยู่อย่างนี้ ​ มุญจิตุกัมยตาญาณก็บังเกิดขึ้น ​ ด้วยประการฉะนี้'''​ '''​เป็นผู้มีความปรารถนาจะพ้นไป ​ มีความมุ่งมั่นจะออกไปเสียจากที่นั้น ๆ  ชื่อฉันใด ​ จิตของโยคีผู้นั้น ​ ก็ฉันนั้น ​ เป็นจิตปรารถนาจะพ้นไป ​ ประสงค์จะออกไปเสียจากสังขารทั้งปวง ​ ทันใดนั้น ​ ครั้นโยคีท่านนั้น ​ ผู้ปราศจากความอาลัยในสังขารทั้งปวงแล้ว ​ ผู้ปรารถนาจะพ้นไปจากสังขารทั้งปวงอยู่อย่างนี้ ​ มุญจิตุกัมยตาญาณก็บังเกิดขึ้น ​ ด้วยประการฉะนี้'''​
  
-'''​จบ ​ มุญจิตุกัมยตาญาณ'''​+'''​จบ ​ มุญจิตุกัมยตาญาณกถา'''​
  
-'''​(10.  ​ปฎิสังขานุปัสสนาญาณ)'''​+=ปฎิสังขานุปัสสนาญาณกถา=
  
 โยคีผู้นั้น ​ เป็นผู้มีความปรารถนาเพื่อจะพ้นไปเสียจากสังขารทั้งหลาย ​ ซึ่งมีแต่ความแตกดับ ​ อันดำเนินไปอยู่ในภพ ​ ในกำเนิด ​ ในคติ ​ ในฐิติ ​ และในนิวาส ​ ทุกหนทุกแห่งดังกล่าวนั้น ​ จึงยกเอาสังขารทั้งหลายเหล่านั้นนั่นแหละขึ้นสู่พระไตรลักณ์แล้วกำหนดรู้ด้วยปฎิสังขานุปัสสนาญาณต่อไปอีก ​ เพื่อพ้นไปเสียจากสังขารทั้งปวง โยคีผู้นั้น ​ เป็นผู้มีความปรารถนาเพื่อจะพ้นไปเสียจากสังขารทั้งหลาย ​ ซึ่งมีแต่ความแตกดับ ​ อันดำเนินไปอยู่ในภพ ​ ในกำเนิด ​ ในคติ ​ ในฐิติ ​ และในนิวาส ​ ทุกหนทุกแห่งดังกล่าวนั้น ​ จึงยกเอาสังขารทั้งหลายเหล่านั้นนั่นแหละขึ้นสู่พระไตรลักณ์แล้วกำหนดรู้ด้วยปฎิสังขานุปัสสนาญาณต่อไปอีก ​ เพื่อพ้นไปเสียจากสังขารทั้งปวง
บรรทัด 608: บรรทัด 584:
 และคำว่า ​ "​กำหนดรู้ทบทวนซึ่งนิมิต" ​ ในบาลีนั้น ​ หมายความว่า ​ รู้นิมิตคือสังขารโดยอนิจจลักษณะว่า ​ "​ไม่ยั่งยืนเป็นไปชั่วคราว"​ ก็และเป็นความจริงว่า ​ รู้ก่อนแล้ว ​ ญาณบังเกิดขึ้นภายหลัง ​ ถึงกระนั้น ​ ท่านก็กล่าวอย่างนั้น ​ ถึงกระนั้น ​ ท่านก็กล่าวอย่างนั้น ​ ด้วยโวหาร ​ ดุจดังคำว่า ​ "​อาศัยใจและธรรมารมณ์ ​ มโนวิญญาณบังเกิดขึ้น" ​ ดังนี้เป็นต้น ​ อีกอย่างหนึ่ง ​ พึงทราบว่า ​ ท่านกล่าวไว้แล้วอย่างนั้น ​ เพราะทำคำหน้า ​   (ปฏิสังขา ​ =  รู้ทบทวน) ​ และคำหลัง ​ (อุปฺปชฺชติ ​ =  บังเกิดขึ้น) ​ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันโดย ​ เอกัตตนัย ​ ถึงแม้ในอีก 2  บท ​ ก็พึงทราบความหมายโดยนัยนี้ด้วยประการฉะนี้ และคำว่า ​ "​กำหนดรู้ทบทวนซึ่งนิมิต" ​ ในบาลีนั้น ​ หมายความว่า ​ รู้นิมิตคือสังขารโดยอนิจจลักษณะว่า ​ "​ไม่ยั่งยืนเป็นไปชั่วคราว"​ ก็และเป็นความจริงว่า ​ รู้ก่อนแล้ว ​ ญาณบังเกิดขึ้นภายหลัง ​ ถึงกระนั้น ​ ท่านก็กล่าวอย่างนั้น ​ ถึงกระนั้น ​ ท่านก็กล่าวอย่างนั้น ​ ด้วยโวหาร ​ ดุจดังคำว่า ​ "​อาศัยใจและธรรมารมณ์ ​ มโนวิญญาณบังเกิดขึ้น" ​ ดังนี้เป็นต้น ​ อีกอย่างหนึ่ง ​ พึงทราบว่า ​ ท่านกล่าวไว้แล้วอย่างนั้น ​ เพราะทำคำหน้า ​   (ปฏิสังขา ​ =  รู้ทบทวน) ​ และคำหลัง ​ (อุปฺปชฺชติ ​ =  บังเกิดขึ้น) ​ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันโดย ​ เอกัตตนัย ​ ถึงแม้ในอีก 2  บท ​ ก็พึงทราบความหมายโดยนัยนี้ด้วยประการฉะนี้
  
-'''​จบ ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ'''​+'''​จบ ปฏิสังขานุปัสสนาญาณกถา'''​
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 358)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 358)''</​fs></​sub>​
  
-'''​[ 11.  ​สังขารุเปกขาญาณ]'''​+=สังขารุเปกขาญาณกถา=
  
 '''​[ ​ สุญญตานุปัสสนา ​ การเห็นเนืองๆ ​ โดยความว่างเปล่ามีเงื่อน 2]'''​ '''​[ ​ สุญญตานุปัสสนา ​ การเห็นเนืองๆ ​ โดยความว่างเปล่ามีเงื่อน 2]'''​
บรรทัด 904: บรรทัด 880:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 371)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 371)''</​fs></​sub>​
  
-'''​คือปัญญา ​ หรือดำเนินตามไปด้วยธรรม ​ (คือปัญญา) ​ เพราะเหตุนี้ ​ ท่านผู้นั้นชื่อว่า ​ ธัมมานุสารี ​ เช่นกัน ​ ท่านผู้ใดพ้นพิเศษแล้วโดยส่วนทั้งสอง ​ คือ ​ ด้วยอรูปฌานและด้วยอริยมรรค ​ เพราะเหตุนี้ ​ ท่านผู้นั้นชื่อว่า ​   อุภโตภาควิมุต ​ ท่านผู้ใดกำหนดรู้อยู่ ​ เป็นผู้พ้นพิเศษแล้ว ​ เพราะเหตุนี้ท่านผู้นั้นชื่อว่า ​ ปัญญาวิมุต ​ ด้วยประการดังกล่าวมาฉะนี้'''​+คือปัญญา ​ หรือดำเนินตามไปด้วยธรรม ​ (คือปัญญา) ​ เพราะเหตุนี้ ​ ท่านผู้นั้นชื่อว่า ​ ธัมมานุสารี ​ เช่นกัน ​ ท่านผู้ใดพ้นพิเศษแล้วโดยส่วนทั้งสอง ​ คือ ​ ด้วยอรูปฌานและด้วยอริยมรรค ​ เพราะเหตุนี้ ​ ท่านผู้นั้นชื่อว่า ​   อุภโตภาควิมุต ​ ท่านผู้ใดกำหนดรู้อยู่ ​ เป็นผู้พ้นพิเศษแล้ว ​ เพราะเหตุนี้ท่านผู้นั้นชื่อว่า ​ ปัญญาวิมุต ​ ด้วยประการดังกล่าวมาฉะนี้
  
 '''​ว่าด้วยสังขารุเปกขาญาณ'''​ '''​ว่าด้วยสังขารุเปกขาญาณ'''​
บรรทัด 918: บรรทัด 894:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 372)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 372)''</​fs></​sub>​
  
-'''​ด้วยนิพพิทาญาณในตอนต้น ​ ด้วยประการฉะนี้แล้ว ​ ก็มีความปรารถนาที่จะสลัดทิ้งซึ่งความเกิดขึ้น ​ (ของสังขารทั้งหลาย) ​ เป็นต้น ​ ชื่อว่า ​ มุญจิตุกัมยตา ​ การพิจารณาทบทวนในตอนกลาง ​ เพื่อทำอุบายแห่งการพ้นไป ​ (จากสังขารทั้งหลาย) ​ ชื่อว่า ​ ปฏิสังขา ​ การพ้นไป ​ แล้ววางเฉยอยู่ ​ ในตอนสุดท้าย ​ ชื่อว่า ​ สันติฏฐนา ​ ซึ่งท่านระบุถึงแล้วกล่าวไว้ว่า ​ "​ความเกิดขึ้น ​ เป็นสังขาร ​ พระภิกษุวางเฉยซึ่งสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ​ เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า ​ สังขารุเปกขา" ​ ดังนี้ ​ เป็นต้น ​ ด้วยเหตุนี้ ​ ญาณนี้จึงเป็นญาณเดียวเท่านั้น ​ อีกประการหนึ่ง ​ พึงทราบแม้โดยพระบาลีนี้ไว้ด้วยว่า ​ ญาณนี้ ​ เป็นญาณเดียวเท่านั้น ​ ที่จริงท่านก็กล่าวไว้แล้วดังนี้ว่า ​ "​ความปรารถนาเพื่อพ้นไป ​ 1  การเห็นเนืองๆ ​ ด้วยการพิจารณาทบทวน 1  และการวางเฉยในสังขาร 1  ธรรม ​ (คือญาณ) ​ ทั้งหลายเหล่านี้มีความหมายอย่างเดียวกัน ​ พยัญชนะเท่านั้นที่ต่างกัน"​'''​+ด้วยนิพพิทาญาณในตอนต้น ​ ด้วยประการฉะนี้แล้ว ​ ก็มีความปรารถนาที่จะสลัดทิ้งซึ่งความเกิดขึ้น ​ (ของสังขารทั้งหลาย) ​ เป็นต้น ​ ชื่อว่า ​ มุญจิตุกัมยตา ​ การพิจารณาทบทวนในตอนกลาง ​ เพื่อทำอุบายแห่งการพ้นไป ​ (จากสังขารทั้งหลาย) ​ ชื่อว่า ​ ปฏิสังขา ​ การพ้นไป ​ แล้ววางเฉยอยู่ ​ ในตอนสุดท้าย ​ ชื่อว่า ​ สันติฏฐนา ​ ซึ่งท่านระบุถึงแล้วกล่าวไว้ว่า ​ "​ความเกิดขึ้น ​ เป็นสังขาร ​ พระภิกษุวางเฉยซึ่งสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ​ เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า ​ สังขารุเปกขา" ​ ดังนี้ ​ เป็นต้น ​ ด้วยเหตุนี้ ​ ญาณนี้จึงเป็นญาณเดียวเท่านั้น ​ อีกประการหนึ่ง ​ พึงทราบแม้โดยพระบาลีนี้ไว้ด้วยว่า ​ ญาณนี้ ​ เป็นญาณเดียวเท่านั้น ​ ที่จริงท่านก็กล่าวไว้แล้วดังนี้ว่า ​ "​ความปรารถนาเพื่อพ้นไป ​ 1  การเห็นเนืองๆ ​ ด้วยการพิจารณาทบทวน 1  และการวางเฉยในสังขาร 1  ธรรม ​ (คือญาณ) ​ ทั้งหลายเหล่านี้มีความหมายอย่างเดียวกัน ​ พยัญชนะเท่านั้นที่ต่างกัน"​
  
 '''​[วุฏฐานคามินีวิปัสสนา]'''​ '''​[วุฏฐานคามินีวิปัสสนา]'''​
บรรทัด 1148: บรรทัด 1124:
 สังขารุเปกขาญาณนี้กำหนดความแตกต่างของวิโมกข์ด้วยเหตุดังกล่าวมานี้ ​ ด้วยประการฉะนี้ สังขารุเปกขาญาณนี้กำหนดความแตกต่างของวิโมกข์ด้วยเหตุดังกล่าวมานี้ ​ ด้วยประการฉะนี้
  
-'''​จบ ​ สังขารุเปกขาญาณ'''​+'''​จบ ​ สังขารุเปกขาญาณกถา'''​
  
 '''​[12. ​ อนุโลมญาณ]'''​ '''​[12. ​ อนุโลมญาณ]'''​
บรรทัด 1188: บรรทัด 1164:
 ก็และ ​ อนุโลมญาณ ​ นี้ ​ เป็นญาณสุดท้ายของวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ​ ซึ่งมีสังขารเป็นอารมณ์ ​ แต่ทว่า ​ โคตรภูญาณ ​ เป็นปริโยสานของวุฏฐานคามินีวิปัสสนาทั้งหมด ​ โดยประการทั้งปวง  ​ ก็และ ​ อนุโลมญาณ ​ นี้ ​ เป็นญาณสุดท้ายของวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ​ ซึ่งมีสังขารเป็นอารมณ์ ​ แต่ทว่า ​ โคตรภูญาณ ​ เป็นปริโยสานของวุฏฐานคามินีวิปัสสนาทั้งหมด ​ โดยประการทั้งปวง  ​
  
-'''​จบ ​ อนุโลมญาณ'''​+'''​จบ ​ อนุโลมญาณกถา'''​
  
-'''​[วุฏฐานคามินีวิปัสสนา ​ ​ในชื่ออื่น]'''​+=วุฏฐานคามินีวิปัสสนากถา=
  
 เพื่อไม่หลงสับสนใน ​ วุฏฐานคามินีวิปัสสนา ​ (ที่กล่าวมา) ​ นั้นนั่นแล ​ ณ  บัดนี้ ​ ควรทราบการเปรียบเทียบทางพระสูตรไว้ ​ ดังต่อไปนี้ เพื่อไม่หลงสับสนใน ​ วุฏฐานคามินีวิปัสสนา ​ (ที่กล่าวมา) ​ นั้นนั่นแล ​ ณ  บัดนี้ ​ ควรทราบการเปรียบเทียบทางพระสูตรไว้ ​ ดังต่อไปนี้