วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision Both sides next revision
วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส [2020/09/26 13:17]
dhamma
วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส [2020/09/26 13:20]
dhamma
บรรทัด 65: บรรทัด 65:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 130)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 130)''</​fs></​sub>​
  
-'''​ค้านความหมายปฏิจจสมุปบาทในลัทธิเดียรถีย์'''​+===ค้านปฏิจจสมุปบาทในลัทธิเดียรถีย์===
  
 เจ้าลัทธิบางพวกกล่าวกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (เฉย ๆ  ไม่มีเหตุ) ​ ว่าเป็นปฏิจจสมุปบาท ​ โดยนัยดังนี้ว่า ​ "​ความอิง ​ (สิ่งต่าง ๆ)  เกิดขึ้น ​ และเกิดขึ้นอย่างถูกต้องด้วย ​ (โดย) ​ ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุ ​ เช่นความเกิดแห่งปกติ ​ (ประพฤติ – มูลเดิม) ​ และปุริส ​ (อาตมัน) ​ เป็นต้น ​ ซึ่งเดียรถีย์กำหนดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ คำของเจ้าลัทธินั้นไม่ชอบ ​ เพราะอะไร ?  เจ้าลัทธิบางพวกกล่าวกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (เฉย ๆ  ไม่มีเหตุ) ​ ว่าเป็นปฏิจจสมุปบาท ​ โดยนัยดังนี้ว่า ​ "​ความอิง ​ (สิ่งต่าง ๆ)  เกิดขึ้น ​ และเกิดขึ้นอย่างถูกต้องด้วย ​ (โดย) ​ ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุ ​ เช่นความเกิดแห่งปกติ ​ (ประพฤติ – มูลเดิม) ​ และปุริส ​ (อาตมัน) ​ เป็นต้น ​ ซึ่งเดียรถีย์กำหนดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ คำของเจ้าลัทธินั้นไม่ชอบ ​ เพราะอะไร ? 
บรรทัด 94: บรรทัด 94:
 กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่เป็นปฏิจจสมุปบาท ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ ดังกล่าวมาฉะนี้ ​ ประการ 1 กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่เป็นปฏิจจสมุปบาท ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ ดังกล่าวมาฉะนี้ ​ ประการ 1
  
-==ทขสูตร==+==เพราะำลายหลัภาษา==
  
-ข้อว่า ​ '''​เพราะทำลายหลักภาษา'''​ สัททเภท ​ ความว่า ​ ก็แล ​ '''​ปฏิจจ'''​ศัพท์นี้ ​ เพราะกัตตาเสมอกัน ​ (คือหากมีกัตตาเดียวกันกับอุปปาท) ​ ประกอบไว้ในบุพกาล ​ (คือใช้เป็นบุพกาลกิริยา) ​ จึงทำความสำเร็จแห่งอรรถได้ ​ (คือได้ความเป็นภาษา) ​ [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=39 เช่นกับพากย์นี้ว่า] ​ '''"​จกฺขุญจ ​ ปฏิจฺจรูเป ​ จ  อุปฺปชฺชติ ​ จกฺขุวิญฺญาณํ''' ​ จักขุวิญญาณย่อมอาศัยจักษุและรูปเกิดขึ้น" ​ แต่ใน+ข้อว่า ​ '''​เพราะทำลายหลักภาษา''' ​(สัททเภท ​ความว่า ​ ก็แล ​ '''​ปฏิจจ'''​ศัพท์นี้ ​ เพราะกัตตาเสมอกัน ​ (คือหากมีกัตตาเดียวกันกับอุปปาท) ​ ประกอบไว้ในบุพกาล ​ (คือใช้เป็นบุพกาลกิริยา) ​ จึงทำความสำเร็จแห่งอรรถได้ ​ (คือได้ความเป็นภาษา) ​ [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=39 เช่นกับพากย์นี้ว่า] ​ '''"​จกฺขุญจ ​ ปฏิจฺจรูเป ​ จ  อุปฺปชฺชติ ​ จกฺขุวิญฺญาณํ''' ​ จักขุวิญญาณย่อมอาศัยจักษุและรูปเกิดขึ้น" ​ แต่ใน
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 132)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 132)''</​fs></​sub>​