วิสุทธิมรรค_11_สมาธินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_11_สมาธินิทเทส [2020/09/01 16:11]
dhamma [พิจารณาความปฏิกูลโดยอาการ 10]
วิสุทธิมรรค_11_สมาธินิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
-=1.  ​อาหาเรปฏิกูลสัญญากถา=+=อาหาเรปฏิกูลสัญญากถา=
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 198)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 198)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
 ความสำคัญหมาย ​ ซึ่งเกิดขึ้นด้วยอำนาจการถือเอาอาการน่าเกลียดในอาหารนั้น ​ ชื่อว่าอาหาเรปฏิกูลสัญญา ความสำคัญหมาย ​ ซึ่งเกิดขึ้นด้วยอำนาจการถือเอาอาการน่าเกลียดในอาหารนั้น ​ ชื่อว่าอาหาเรปฏิกูลสัญญา
  
-==จาณาความปฏิกูลโดยอาการ ​ 10==+==คำบรกรรมปฏิกูล ​10 อาการในอาหาร==
  
 พระโยคีผู้ต้องการเจริญปฏิกูลสัญญาในอาหารนั้น ​ จำเป็นต้องท่องจำเอากรรมฐานไม่ให้คลาดเคลื่อนจากที่เรียนมาแม้แต่บทเดียว ​ แล้วไปในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนาอยู่ ​ แล้วพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลในกวฬิงการาหารต่างๆ คือ ของกิน ของดื่ม ​ ของเคี้ยว ​ ของลิ้ม ​ โดยอาการ 10  อย่าง ​ คืออย่างไร ?  พระโยคีผู้ต้องการเจริญปฏิกูลสัญญาในอาหารนั้น ​ จำเป็นต้องท่องจำเอากรรมฐานไม่ให้คลาดเคลื่อนจากที่เรียนมาแม้แต่บทเดียว ​ แล้วไปในที่หลีกเร้นสำหรับภาวนาอยู่ ​ แล้วพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลในกวฬิงการาหารต่างๆ คือ ของกิน ของดื่ม ​ ของเคี้ยว ​ ของลิ้ม ​ โดยอาการ 10  อย่าง ​ คืออย่างไร ? 
  
-1.  เดินออกป่าก็สกปรก+1.  เดินออกวัดก็สกปรก
  
 2.  ในระแวกบ้านก็สกปรก 2.  ในระแวกบ้านก็สกปรก
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
 3.  ขณะกินก็สกปรก 3.  ขณะกินก็สกปรก
  
-4.  อาศัยน้ำสกปรก+4.  อาศัยในน้ำสกปรก
  
 5.  ลำไส้สกปรกไม่เคยล้าง 5.  ลำไส้สกปรกไม่เคยล้าง
บรรทัด 66: บรรทัด 66:
 10.  แตะอะไรก็เปรอะเปื้อน 10.  แตะอะไรก็เปรอะเปื้อน
  
-===1.  โารไป===+===ินออกวัดก็สกปรก===
  
-ในอาการทั้ง 10  นั้น ​ ขว่า  โป  ​อธิบายว่า ​ พระโยคีพิจารณาว่า ​ ผู้บวชในพระศาสนาซึ่งชื่อว่ามีอานุภาพมากอย่างนี้ ​ ทำการสาธยายพุทธพจน์หรือทำสมณธรรม+ในอาการทั้ง 10  นั้น  ​จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลเพระเดินออกวัดก็สกปรก ​ (คมนต) อร ? อธิบายว่า ​ พระโยคีพิจารณาว่า ​ ผู้บวชในพระศาสนาซึ่งชื่อว่ามีอานุภาพมากอย่างนี้ ​ ทำการสาธยายพุทธพจน์หรือทำสมณธรรม
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 200)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 200)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 84: บรรทัด 84:
 ของปฏิกูลซึ่งมีเครื่องลาดเป็นต้น ​ มีซากศพเป็นอเนกเป็นที่สุดดังว่ามานี้ ​ เป็นสิ่งที่พระโยคีจำต้องเหยียบจำต้องดมเพราะอาหารเป็นเหตุ ​ เราพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการไปอย่างนี้ว่า ​ แน่ะท่านผู้เจริญ ​ อาหารน่าเกลียดแท้หนอ  ​ ของปฏิกูลซึ่งมีเครื่องลาดเป็นต้น ​ มีซากศพเป็นอเนกเป็นที่สุดดังว่ามานี้ ​ เป็นสิ่งที่พระโยคีจำต้องเหยียบจำต้องดมเพราะอาหารเป็นเหตุ ​ เราพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการไปอย่างนี้ว่า ​ แน่ะท่านผู้เจริญ ​ อาหารน่าเกลียดแท้หนอ  ​
  
-===2.  โดยการแงหา===+===ในแวกบ้นก็สกปรก===
  
-จะพิจารณาความเป็นของน่ารังเกียจโดยการแงหาอย่างไร ?  ก็เราแม้อดกลั้นสิ่งที่น่าเกลียดโดยการไปอย่างนี้แล้ว ​ เข้าไปสู่บ้านแล้วห่มผ้าสังฆาฏิ ​ มือถือกระเบื้องเที่ยวไป ​ ในถนนในบ้านโดยลำดับเรือนดุจคนกำพร้า ​ ที่ในฐานที่เหยียบลงแล้ว ๆ ในฤดูฝน ​ เท้าทั้งหลายต้องจมลงไปในโคลนเลนจนถึงเนื้อปลีแข้ง ​ ต้องเอามือหนึ่งถือบาตรเอามือหนึ่งยกจีวร ​ ในฤดูร้อนก็จำต้องเที่ยวไปด้วยทั้งสรีระอันเกลื่อนกล่นไปด้วยฝุ่นและละอองหญ้า ​ อันตั้งขึ้นแล้วเพราะกำลังลมพัด ​ ครั้นถึงประตูบ้านนั้น ๆ จำต้องเห็นและบางทีก็เหยียบหลุมโสโครกและบ่อน้ำครำ ​ อันเจือปนด้วยน้ำล้างปลา, ​ น้ำล้างเนื้อ, ​ น้ำซาวข้าว, ​ น้ำลาย, ​ น้ำมูก,​ มูลสนุขและสุกรเป็นต้น ​ เกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่หนอนและแมลงวันหัวเขียว ​ เป็นแดนซึ่งแมลงวันบ้านตั้งขึ้นเที่ยวจับเกาะที่ผ้าสังฆาฏิบ้าง ​   ที่บาตรบ้าง ​ ที่ศีรษะบ้าง ​ แม้เมื่อพระโยคีเข้าไปสู่เรือนแล้ว ​ บางพวกก็ถวายบางพวกก็ไม่ถวาย ​ แม้เมื่อถวาย ​ บางพวกก็ถวายภัตที่สุก ​ แต่วานนี้บ้าง ​ ของเคี้ยวที่เก่าบ้าง ​ ขนมถั่วและแกงเป็นต้นที่บูดแล้วบ้าง ​ ฝ่ายพวกที่ไม่ให้บางพวกก็พูดว่านิมนต์โปรดสัตว์ข้างหน้าเถิดเจ้าข้า ​ บางพวกก็นิ่งเสียเป็นดุจไม่เห็น ​   บางพวกก็ทำทีพูดกับคนอื่นเสีย ​ บางพวกซ้ำด่าด้วยคำหยาบ ​ เป็นต้นว่า ​ เฮ้ย ! ไอ้หัวโล้นจงไปเสีย ​ ถึงเป็นอย่างนี้พระโยคีจำต้องเที่ยวไปบิณฑบาตในบ้าน ​ แล้วจึงออกมา ​ พระโยคีจำต้องเหยียบ ​ จำต้องเห็น ​ จำต้องอดกลั้น ​ ซึ่งของปฏิกูลมีน้ำและโคลนตมเป็นต้นนี้ ​ จำเดิมแต่เข้าไปสู่บ้านจนกระทั่งออก ​ ด้วยประการดังพรรณนามาฉะนี้ ​ เธอพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการแสวงหาอย่างนี้ว่า ​ แน่ะท่านผู้เจริญ ​ อาหารน่าเกลียดแท้หนอ ​ ดังนี้  ​+จะพิจารณาความเป็นของปฏิูลเพระในแวกบ้นก็สกปรก (ปริเยสนโต) ​อย่างไร ?  ก็เราแม้อดกลั้นสิ่งที่น่าเกลียดโดยการไปอย่างนี้แล้ว ​ เข้าไปสู่บ้านแล้วห่มผ้าสังฆาฏิ ​ มือถือกระเบื้องเที่ยวไป ​ ในถนนในบ้านโดยลำดับเรือนดุจคนกำพร้า ​ ที่ในฐานที่เหยียบลงแล้ว ๆ ในฤดูฝน ​ เท้าทั้งหลายต้องจมลงไปในโคลนเลนจนถึงเนื้อปลีแข้ง ​ ต้องเอามือหนึ่งถือบาตรเอามือหนึ่งยกจีวร ​ ในฤดูร้อนก็จำต้องเที่ยวไปด้วยทั้งสรีระอันเกลื่อนกล่นไปด้วยฝุ่นและละอองหญ้า ​ อันตั้งขึ้นแล้วเพราะกำลังลมพัด ​ ครั้นถึงประตูบ้านนั้น ๆ จำต้องเห็นและบางทีก็เหยียบหลุมโสโครกและบ่อน้ำครำ ​ อันเจือปนด้วยน้ำล้างปลา, ​ น้ำล้างเนื้อ, ​ น้ำซาวข้าว, ​ น้ำลาย, ​ น้ำมูก,​ มูลสนุขและสุกรเป็นต้น ​ เกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่หนอนและแมลงวันหัวเขียว ​ เป็นแดนซึ่งแมลงวันบ้านตั้งขึ้นเที่ยวจับเกาะที่ผ้าสังฆาฏิบ้าง ​   ที่บาตรบ้าง ​ ที่ศีรษะบ้าง ​ แม้เมื่อพระโยคีเข้าไปสู่เรือนแล้ว ​ บางพวกก็ถวายบางพวกก็ไม่ถวาย ​ แม้เมื่อถวาย ​ บางพวกก็ถวายภัตที่สุก ​ แต่วานนี้บ้าง ​ ของเคี้ยวที่เก่าบ้าง ​ ขนมถั่วและแกงเป็นต้นที่บูดแล้วบ้าง ​ ฝ่ายพวกที่ไม่ให้บางพวกก็พูดว่านิมนต์โปรดสัตว์ข้างหน้าเถิดเจ้าข้า ​ บางพวกก็นิ่งเสียเป็นดุจไม่เห็น ​   บางพวกก็ทำทีพูดกับคนอื่นเสีย ​ บางพวกซ้ำด่าด้วยคำหยาบ ​ เป็นต้นว่า ​ เฮ้ย ! ไอ้หัวโล้นจงไปเสีย ​ ถึงเป็นอย่างนี้พระโยคีจำต้องเที่ยวไปบิณฑบาตในบ้าน ​ แล้วจึงออกมา ​ พระโยคีจำต้องเหยียบ ​ จำต้องเห็น ​ จำต้องอดกลั้น ​ ซึ่งของปฏิกูลมีน้ำและโคลนตมเป็นต้นนี้ ​ จำเดิมแต่เข้าไปสู่บ้านจนกระทั่งออก ​ ด้วยประการดังพรรณนามาฉะนี้ ​ เธอพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการแสวงหาอย่างนี้ว่า ​ แน่ะท่านผู้เจริญ ​ อาหารน่าเกลียดแท้หนอ ​ ดังนี้  ​
  
-===3.  โดยารบรโภค=== +===ขณะกินก็สกปรก=== 
-จะพิจารณาความเป็นของน่าเกลียดโดยการริโภคอย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็พระโยคีผู้แสวงหาอาหารอย่างนี้แล้ว ​ นั่งอย่างสบายในที่สะดวกภายนอกบ้าน ​ ตราบใดที่ยัง+จะพิจารณาความเป็นของปฏิเพระขณะกินก็สกปก (ปริโภคโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็พระโยคีผู้แสวงหาอาหารอย่างนี้แล้ว ​ นั่งอย่างสบายในที่สะดวกภายนอกบ้าน ​ ตราบใดที่ยัง
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 202)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 202)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 95: บรรทัด 95:
 มิได้หย่อนมือลงไปในอาหารนั้น ​ แลเห็นภิกษุผู้อยู่ในฐานะเป็นครูหรือมนุษย์ผู้ละอายบาปเห็นบาปนั้น ​ ก็ยังพออาจเพื่อนิมนต์ให้ฉันอาหารเช่นนั้นได้อยู่ตราบนั้น ​   เพราะยังไม่เป็นของปฏิกูล ​ แต่เมื่อหย่อนมือลงไปในอาหารนี้ด้วยความเป็นผู้ต้องการฉันแล้ว ​ เธอจะกล่าวว่าท่านจงรับเอาดังนี้ ​ ต้องละอาย ​ เพราะเป็นของปฏิกูลแล้ว ​ อนึ่ง เหงื่อหลั่งออกตามง่ามนิ้วมือทั้ง 5  ของพระโยคีผู้หย่อนมือลงไปขยำอยู่ ​ แม้ภัตที่แห้งแข็งก็ให้ชุ่มทำให้อ่อนได้ ​ ภายหลัง ​ เมื่ออาหารนั้นมีความงามอันสลายแล้ว ​ แม้เพราะเหตุสักว่าขยำทำเป็นคำ ๆ ใส่วางไว้ในปาก ​ ฟันล่างก็ทำกิจต่างครก ​ ฟันบนทำกิจต่างสาก ​ ลิ้นทำกิจต่างมือ ​ อาหารนั้นอันสากคือฟันตำแล้วอันลิ้นคลุกเคล้าแล้วในปากนั้น เป็นดุจก้อนรากสุนัขในรางสุนัข ​ น้ำลายจางใส ​ ที่ปลายลิ้นเปื้อน ​ แต่กลางลิ้นเข้าไปน้ำลายข้นเปื้อน ​ มูลฟันในที่ซึ่งไม้ชำระไม่ถึงเปื้อน ​ อาหารนั้นทั้งถูกบดถูกเปื้อนอย่างนี้ ​ หมดสีกลิ่นและเครื่องปรุงอันวิเศษในทันทีนั้น ​ เข้าถึงความเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่ง ​ ดุจรากสุนัขอันอยู่ในรางสุนัข ​ แม้เป็นเช่นนั้นยังกลืนกินได้ ​ เพราะล่วงคลองจักษุไปแล้ว ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการบริโภคอย่างที่ว่ามานั่นแหละ  ​ มิได้หย่อนมือลงไปในอาหารนั้น ​ แลเห็นภิกษุผู้อยู่ในฐานะเป็นครูหรือมนุษย์ผู้ละอายบาปเห็นบาปนั้น ​ ก็ยังพออาจเพื่อนิมนต์ให้ฉันอาหารเช่นนั้นได้อยู่ตราบนั้น ​   เพราะยังไม่เป็นของปฏิกูล ​ แต่เมื่อหย่อนมือลงไปในอาหารนี้ด้วยความเป็นผู้ต้องการฉันแล้ว ​ เธอจะกล่าวว่าท่านจงรับเอาดังนี้ ​ ต้องละอาย ​ เพราะเป็นของปฏิกูลแล้ว ​ อนึ่ง เหงื่อหลั่งออกตามง่ามนิ้วมือทั้ง 5  ของพระโยคีผู้หย่อนมือลงไปขยำอยู่ ​ แม้ภัตที่แห้งแข็งก็ให้ชุ่มทำให้อ่อนได้ ​ ภายหลัง ​ เมื่ออาหารนั้นมีความงามอันสลายแล้ว ​ แม้เพราะเหตุสักว่าขยำทำเป็นคำ ๆ ใส่วางไว้ในปาก ​ ฟันล่างก็ทำกิจต่างครก ​ ฟันบนทำกิจต่างสาก ​ ลิ้นทำกิจต่างมือ ​ อาหารนั้นอันสากคือฟันตำแล้วอันลิ้นคลุกเคล้าแล้วในปากนั้น เป็นดุจก้อนรากสุนัขในรางสุนัข ​ น้ำลายจางใส ​ ที่ปลายลิ้นเปื้อน ​ แต่กลางลิ้นเข้าไปน้ำลายข้นเปื้อน ​ มูลฟันในที่ซึ่งไม้ชำระไม่ถึงเปื้อน ​ อาหารนั้นทั้งถูกบดถูกเปื้อนอย่างนี้ ​ หมดสีกลิ่นและเครื่องปรุงอันวิเศษในทันทีนั้น ​ เข้าถึงความเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่ง ​ ดุจรากสุนัขอันอยู่ในรางสุนัข ​ แม้เป็นเช่นนั้นยังกลืนกินได้ ​ เพราะล่วงคลองจักษุไปแล้ว ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการบริโภคอย่างที่ว่ามานั่นแหละ  ​
  
-===4. โดยที่อยู่===+===อาศัในน้ำสกปรก===
  
-จะพิจารณาความเป็นของน่ารังเกีจโดยที่อยู่อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็แหละอาหารนี้เข้าถึงการบริโภคอย่างนี้แล้ว ​ เมื่อเข้าไปข้างใน ​ เพราะเหตุที่จะเป็นพระพุทธเจ้าหรือพระปัจเจกพุทธเจ้า ​ หรือพระเจ้าจักรพรรดิก็ตามที ​ ย่อมมีที่อาศัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ​ ในบรรดาที่อาศัย 4  อย่าง ​ คือ ปิตตาสัย ​ ที่อาศัยคือดี ​ เสมหาสัย ​ ที่อาศัยคือเสลด ​ ปุพพาสัย ​ ที่อาศัยคือหนอง ​ โลหิตาสัย ​ ที่อาศัยคือเลือด ​ แต่สำหรับคนมีปัญญาน้อยมีที่อาศัยครบทั้ง 4  เพราะเหตุนั้น ​ อาหารใดที่อาศัยคือดีมาก ​ อาหารนั้นน่าเกลียดยิ่งนักดุจเปื้อนด้วยนำมันมะพร้าวข้น ​ อาหารใดที่อาศัยคือเสลดมาก ​ อาหารนั้นดุจระคนด้วยน้ำใบกากะทิง ​ อาหารใดที่อาศัยคือหนองมาก ​ อาหารนั้นดุจระคนด้วยเปรียงเน่า ​ อาหารใดที่อาศัยคือโลหิตมาก ​ อาหารนั้นน่าสะอิดสะเอียนยิ่งนักดุจระคนด้วยน้ำย้อม ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยที่อาศัยอย่างพรรณนามาฉะนี้+จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลเพาะอาศัยในน้ำสกปรก (าสโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็แหละอาหารนี้เข้าถึงการบริโภคอย่างนี้แล้ว ​ เมื่อเข้าไปข้างใน ​ เพราะเหตุที่จะเป็นพระพุทธเจ้าหรือพระปัจเจกพุทธเจ้า ​ หรือพระเจ้าจักรพรรดิก็ตามที ​ ย่อมมีที่อาศัยอย่างใดอย่างหนึ่ง ​ ในบรรดาที่อาศัย 4  อย่าง ​ คือ ปิตตาสัย ​ ที่อาศัยคือดี ​ เสมหาสัย ​ ที่อาศัยคือเสลด ​ ปุพพาสัย ​ ที่อาศัยคือหนอง ​ โลหิตาสัย ​ ที่อาศัยคือเลือด ​ แต่สำหรับคนมีปัญญาน้อยมีที่อาศัยครบทั้ง 4  เพราะเหตุนั้น ​ อาหารใดที่อาศัยคือดีมาก ​ อาหารนั้นน่าเกลียดยิ่งนักดุจเปื้อนด้วยนำมันมะพร้าวข้น ​ อาหารใดที่อาศัยคือเสลดมาก ​ อาหารนั้นดุจระคนด้วยน้ำใบกากะทิง ​ อาหารใดที่อาศัยคือหนองมาก ​ อาหารนั้นดุจระคนด้วยเปรียงเน่า ​ อาหารใดที่อาศัยคือโลหิตมาก ​ อาหารนั้นน่าสะอิดสะเอียนยิ่งนักดุจระคนด้วยน้ำย้อม ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยที่อาศัยอย่างพรรณนามาฉะนี้
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 203)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 203)''</​fs></​sub>​
  
-===5. โดยหมัหมม===+===ลำไส้สปรกไ่เคยล้าง===
  
-จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยหมัหมมอย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ อาหารนั้นระคนด้วยที่อาศัย ​ ในบรรดาที่อาศัยทั้ง 4  เหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วเข้าไปสู่ภายในท้องไม่ใช่ไปหมักหมมอยู่ในภาชนะทองหรือภาชนะแก้วมณีหรือภาชนะเงินเป็นต้น ​ ก็หากคนมีอายุ 10  ปีกลืนกิน ​ ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสอันเช่นเดียวกับหลุมคูถที่ไม่ได้ชำระตลอด 10  ปี ถ้าหากคนมีอายุ 20  ปี ​ 30 ปี ​ 40 ปี ​ 50 ปี ​ 60 ปี ​ 70 ปี ​ 80 ปี ​ 90 ปีกลืนกิน ​ ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสอันเป็นหลุมคูถที่ไม้ได้ชำระตั้ง ​ 20-30-40-50-60-70-80-90 ปี ​ ถ้าหากคนมีอายุตั้ง 100 ปีกลืนกิน ​ ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสเช่นเดียวกับหลุมคูถซึ่งมิได้ชำระตั้ง 100 ปี ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลความเป็นของปฏิกูลโดยความหมักหมม ​ อย่างพรรณนามาฉะนี้+จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลลำไส้สปรกไ่เคยล้าง (นิธานโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ อาหารนั้นระคนด้วยที่อาศัย ​ ในบรรดาที่อาศัยทั้ง 4  เหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วเข้าไปสู่ภายในท้องไม่ใช่ไปหมักหมมอยู่ในภาชนะทองหรือภาชนะแก้วมณีหรือภาชนะเงินเป็นต้น ​ ก็หากคนมีอายุ 10  ปีกลืนกิน ​ ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสอันเช่นเดียวกับหลุมคูถที่ไม่ได้ชำระตลอด 10  ปี ถ้าหากคนมีอายุ 20  ปี ​ 30 ปี ​ 40 ปี ​ 50 ปี ​ 60 ปี ​ 70 ปี ​ 80 ปี ​ 90 ปีกลืนกิน ​ ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสอันเป็นหลุมคูถที่ไม้ได้ชำระตั้ง ​ 20-30-40-50-60-70-80-90 ปี ​ ถ้าหากคนมีอายุตั้ง 100 ปีกลืนกิน ​ ก็ย่อมตั้งอยู่ในโอกาสเช่นเดียวกับหลุมคูถซึ่งมิได้ชำระตั้ง 100 ปี ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลความเป็นของปฏิกูลโดยความหมักหมม ​ อย่างพรรณนามาฉะนี้
  
-===6. โดยยังไม่ย่อย===+===ยังไม่ย่อยก็สกปรก===
  
-จะพิจารณาความ็นของน่ารังเียจโดยยังไม่ย่อยอย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้นั้นเข้าถึงความหมักหมมในโอกาสเช่นนี้ยังไม่ย่อยตราบใด ​ ที่กลืนกินในวันนั้นก็ดี ในวันวานก็ดี ในวันก่อนแต่นั้นก็ดี ​ ทั้งหมดถูกแผ่นเสมหะห่อหุ้มเป็นอันเดียวกันปุดเป็นฟองฟอด ​ ซึ่งเกิดแต่ความย่อยยับ ​ อันความร้อนแห่งไฟในกายให้ย่อยแล้วเข้าถึงความเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งแล้วตั้งอยู่ในประเทศที่มืดมิดอย่างยิ่ง ​ ที่ถูกอบด้วยกลิ่นแห่งซากศพต่าง ๆ ดุจเที่ยวไปในป่าทึบที่น่าเกลียดมีกลิ่นเหม็นยิ่งนัก ​ ซึ่งมีประการดังกล่าวแล้วนั้นนั่นเทียวอยู่ตราบนั้น ​ เปรียบดุหญ้า ใบไม้ ​ ท่อนเสื่อลำแพน ​ ซากงู ​ สุนัข ​ และมนุษย์เป็นต้น ​ ซึ่งตกลงในหลุมใกล้ประตูบ้านคนจัณฑาลอันฝนไม่ใช่การตกรดแล้วในฤดูแล้ง ​ ฤดูความร้อนของดวงอาทิตย์แผดเผา ​ เดือดเป็นฟองฟอดแล้วตั้งอยู่ฉะนั้น ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยยังไม่ย่อยอย่างนี้+จะพิจารณาความปฏิูลเพราะยังไม่ย่อยก็สกปรก (อปริปกฺกโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้นั้นเข้าถึงความหมักหมมในโอกาสเช่นนี้ยังไม่ย่อยตราบใด ​ ที่กลืนกินในวันนั้นก็ดี ในวันวานก็ดี ในวันก่อนแต่นั้นก็ดี ​ ทั้งหมดถูกแผ่นเสมหะห่อหุ้มเป็นอันเดียวกันปุดเป็นฟองฟอด ​ ซึ่งเกิดแต่ความย่อยยับ ​ อันความร้อนแห่งไฟในกายให้ย่อยแล้วเข้าถึงความเป็นของน่าเกลียดอย่างยิ่งแล้วตั้งอยู่ในประเทศที่มืดมิดอย่างยิ่ง ​ ที่ถูกอบด้วยกลิ่นแห่งซากศพต่าง ๆ ดุจเที่ยวไปในป่าทึบที่น่าเกลียดมีกลิ่นเหม็นยิ่งนัก ​ ซึ่งมีประการดังกล่าวแล้วนั้นนั่นเทียวอยู่ตราบนั้น ​ เปรียบดุหญ้า ใบไม้ ​ ท่อนเสื่อลำแพน ​ ซากงู ​ สุนัข ​ และมนุษย์เป็นต้น ​ ซึ่งตกลงในหลุมใกล้ประตูบ้านคนจัณฑาลอันฝนไม่ใช่การตกรดแล้วในฤดูแล้ง ​ ฤดูความร้อนของดวงอาทิตย์แผดเผา ​ เดือดเป็นฟองฟอดแล้วตั้งอยู่ฉะนั้น ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยยังไม่ย่อยอย่างนี้
  
-===7. โดยย่อยแล้ว===+===ย่อยแล้วก็สกปรก===
  
-จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยย่อยแล้วอย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ อาหารนั้นเป็นสภาพอันไฟในกายให้ย่อยแล้วในโอกาสนั้น ​ และมิใช่จะให้เข้าถึงความเป็นทองเป็นเงิน+จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลเพราะย่อยแล้วก็สกปรก (ปริปกฺกโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ อาหารนั้นเป็นสภาพอันไฟในกายให้ย่อยแล้วในโอกาสนั้น ​ และมิใช่จะให้เข้าถึงความเป็นทองเป็นเงิน
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 204)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 204)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 117: บรรทัด 117:
 เป็นต้น ​ ดุจดังธาตุทองและธาตุเงินเป็นต้นได้ ​ แต่ก็เมื่อผุดเป็นฟองฟอดอยู่ ​ เข้าถึงความเป็นอุจจาระ ​ ยังกระเพาะอาหารเก่าให้เต็ม ​ เปรียบดุจดินเหลืองซึ่งบุคคลบดดินที่ควรทำให้ละเอียดแล้วใส่เข้าในกระบอกไม้ไผ่ ​ เข้าถึงความเป็นมูตรยังกระเพาะปัสสาวะให้เต็มอยู่ ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยย่อยแล้วอย่างที่พรรณนามานี้ เป็นต้น ​ ดุจดังธาตุทองและธาตุเงินเป็นต้นได้ ​ แต่ก็เมื่อผุดเป็นฟองฟอดอยู่ ​ เข้าถึงความเป็นอุจจาระ ​ ยังกระเพาะอาหารเก่าให้เต็ม ​ เปรียบดุจดินเหลืองซึ่งบุคคลบดดินที่ควรทำให้ละเอียดแล้วใส่เข้าในกระบอกไม้ไผ่ ​ เข้าถึงความเป็นมูตรยังกระเพาะปัสสาวะให้เต็มอยู่ ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยย่อยแล้วอย่างที่พรรณนามานี้
  
-===8.  โดล===+===หล่อเลี้งซากแะโรค===
  
-จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยผลอย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้อันไฟธาตุย่อยอยู่โดยชอบเทียว ​ ย่อมสำเร็จเป็นซากต่าง ๆ  มี ​ ผม ​ ขน ​ เล็บ ​ ฟัน ​ เป็นต้น ที่ไม่ย่อยอยู่โดยชอบ ​ ย่อมให้สำเร็จเป็นโรคตั้ง 100 ชนิด ​ มีหิดเปื่อย ​ หิดด้าน ​ คุดทะลาด ​ โรคเรื้อน ​ ขี้กลาก ​ หืด ​ ไอลงแดง ​ เป็นต้น ​ นี้เป็นผลของอาหารนั้น ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยผลอย่างนี้+จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลเพราะหล่อเลี้งซากและโรค (ผลโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้อันไฟธาตุย่อยอยู่โดยชอบเทียว ​ ย่อมสำเร็จเป็นซากต่าง ๆ  มี ​ ผม ​ ขน ​ เล็บ ​ ฟัน ​ เป็นต้น ที่ไม่ย่อยอยู่โดยชอบ ​ ย่อมให้สำเร็จเป็นโรคตั้ง 100 ชนิด ​ มีหิดเปื่อย ​ หิดด้าน ​ คุดทะลาด ​ โรคเรื้อน ​ ขี้กลาก ​ หืด ​ ไอลงแดง ​ เป็นต้น ​ นี้เป็นผลของอาหารนั้น ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยผลอย่างนี้
  
-===9.  โดยหลั่งไหลออก===+===ไหลออกมาก็สกปรก===
  
-จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยหลั่งไหลออกอย่างไร? ​ คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้อันบุคคลกลืนกินอยู่ ​ เข้าไปโดยทวารช่องเดียว ​ เมื่อจะหลั่งออกย่อมออกโดยทวารเป็นอเนก ​ โดยประการเป็นต้นว่า ​ ขี้ตาไหลจากตา ​ ขี้หูไหลจากหู ​ อนึ่ง ​ อาหารนี้ในเวลาที่กลืนกิน ​ บุคคลย่อมกลืนกินแม้ด้วยทั้งบริวารมาก แต่ในเวลาที่ถ่ายออก ​ เข้าถึงความเป็นอุจจาระและปัสสาวะ ​ เป็นต้น ​ เฉพาะคน ๆ เดียวย่อมถ่ายออก ​ ก็เมื่อบริโภคอาหารนั้นในวันแรกทั้งยินดีทั้งร่าเริง ​ ปลื้มจิตโปร่งใจเกิดปีติโสมนัส ​ พอวันที่ 2  เมื่อจะถ่ายออกย่อมปิดจมูกสยิ้วหน้าสะอิดสะเอียนเก้อเขิน ​ อนึ่ง ​ ในวันแรกเขากำหนัดแล้วชอบใจจดจ่อ ​ แม้สยบหมกมุ่นกลืนกินอาหารนั้น ​ ครั้นวันที่ 2  ค้างอยู่เพียงคืนเดียวก็เบื่อหน่ายอึดอัดระอารังเกียจจึงต้องถ่ายออก ​ เพราะเหตุนั้นท่านอาจารย์ดึกดำบรรพ์จึงกล่าวว่า+จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลเพราะไหลออกมาก็สกปรก (นิสฺสนฺทโต) ​อย่างไร? ​ คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้อันบุคคลกลืนกินอยู่ ​ เข้าไปโดยทวารช่องเดียว ​ เมื่อจะหลั่งออกย่อมออกโดยทวารเป็นอเนก ​ โดยประการเป็นต้นว่า ​ ขี้ตาไหลจากตา ​ ขี้หูไหลจากหู ​ อนึ่ง ​ อาหารนี้ในเวลาที่กลืนกิน ​ บุคคลย่อมกลืนกินแม้ด้วยทั้งบริวารมาก แต่ในเวลาที่ถ่ายออก ​ เข้าถึงความเป็นอุจจาระและปัสสาวะ ​ เป็นต้น ​ เฉพาะคน ๆ เดียวย่อมถ่ายออก ​ ก็เมื่อบริโภคอาหารนั้นในวันแรกทั้งยินดีทั้งร่าเริง ​ ปลื้มจิตโปร่งใจเกิดปีติโสมนัส ​ พอวันที่ 2  เมื่อจะถ่ายออกย่อมปิดจมูกสยิ้วหน้าสะอิดสะเอียนเก้อเขิน ​ อนึ่ง ​ ในวันแรกเขากำหนัดแล้วชอบใจจดจ่อ ​ แม้สยบหมกมุ่นกลืนกินอาหารนั้น ​ ครั้นวันที่ 2  ค้างอยู่เพียงคืนเดียวก็เบื่อหน่ายอึดอัดระอารังเกียจจึงต้องถ่ายออก ​ เพราะเหตุนั้นท่านอาจารย์ดึกดำบรรพ์จึงกล่าวว่า
  
 อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก ​ เข้าโดยทวารช่องเดียว ​ แต่หลั่งออกโดยทวารตั้ง 9  ช่อง ​ อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก ​ บุคคลมีบริวารแวดล้อมบริโภคอยู่ ​ แต่เวลาเขาจะถ่ายออกย่อมแอบแฝง อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก ​ บุคคลชื่นชมบริโภคอยู่แต่เมื่อ อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก ​ เข้าโดยทวารช่องเดียว ​ แต่หลั่งออกโดยทวารตั้ง 9  ช่อง ​ อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก ​ บุคคลมีบริวารแวดล้อมบริโภคอยู่ ​ แต่เวลาเขาจะถ่ายออกย่อมแอบแฝง อาหารเครื่องดื่มของเคี้ยวและโภชนะซึ่งมีค่ามาก ​ บุคคลชื่นชมบริโภคอยู่แต่เมื่อ
บรรทัด 133: บรรทัด 133:
 พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยหลั่งไหลออกอย่างนี้ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยหลั่งไหลออกอย่างนี้
  
-===10. โดยเปื้อน===+===แตะอะไรก็เปรอะเปื้อน===
  
-จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการเปื้อนอย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้ แม้ในเวลาบริโภค ​ ย่อมยังมือปากลิ้นและเพดานให้เปื้อน ​ เพราะถูกอาหารนั้นเปื้อน ​ อวัยะเหล่านั้นจึงเป็นของปฏิกูล ​ ซึ่งแม้จะล้างแล้วก็จำต้องล้างบ่อย ๆ เพื่อขจัดกลิ่น ​ อาหารเมื่อบริโภคเข้าไปแล้ว ​ เช่นเดียวกับเมื่อหุงข้าวสุกแกลบรำปลายข้าวเป็นต้นเดือดปุดขึ้นแล้ว ​ ย่อมเปื้อนขอบปากหม้อและฝาหม้อ ​ ฉันใด ​ อาหารอันไฟประจำกายซึ่งไปตามสรีระทั้งร่าง ​ เผาให้เดือดปุดเป็นฟองฟูดขึ้นมาอยู่ ​ ย่อมยังฟันให้เปื้อนโดยความเป็นมลทินฟัน ​ ย่อมยังอวัยวะมีลิ้นและเพดานเป็นต้นให้เปื้อนโดยความเป็นน้ำลายและเสมหะเป็นต้น ​ ยัง ​ ตา ​ หู ​ จมูก ​ ทวารหนักเป็นต้นให้เปื้อนโดยความเป็นขี้ตา ​ ขี้หู ​ น้ำมูก ​ ปัสสาวะ ​ และอุจจาระเป็นต้น ​ อันเป็นเหตุให้บรรดาทวารที่ถูกเปื้อนแล้ว ​ แม้บุคคลล้างอยู่ทุก ๆ วันก็ไม่เป็นของสะอาด ​ ไม่เป็นของน่าฟูใจ ​ ซึ่งเป็นที่ ๆ บุคคลล้างทวารบางทวารแล้วจำต้องล้างมือด้วยน้ำอีก ​ บุคคลล้างทวารบางทวารแล้ว ล้างมือด้วยโคมัยก็ดี ​ ดินเหนียวก็ดี ​ จุณหอมก็ดี ​ ตั้ง 2  ครั้ง ​ ความเป็นของปฏิกูลก็ยังไม่ไปปราศ ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการเปื้อนอย่างนี้+จะพิจารณาความเป็นของปฏิกูลเพระแตะอะไก็เปรอะเปื้อน ​(สมฺมกฺขนโต) ​อย่างไร ?  คือพิจารณาว่า ​ ก็อาหารนี้ แม้ในเวลาบริโภค ​ ย่อมยังมือปากลิ้นและเพดานให้เปื้อน ​ เพราะถูกอาหารนั้นเปื้อน ​ อวัยะเหล่านั้นจึงเป็นของปฏิกูล ​ ซึ่งแม้จะล้างแล้วก็จำต้องล้างบ่อย ๆ เพื่อขจัดกลิ่น ​ อาหารเมื่อบริโภคเข้าไปแล้ว ​ เช่นเดียวกับเมื่อหุงข้าวสุกแกลบรำปลายข้าวเป็นต้นเดือดปุดขึ้นแล้ว ​ ย่อมเปื้อนขอบปากหม้อและฝาหม้อ ​ ฉันใด ​ อาหารอันไฟประจำกายซึ่งไปตามสรีระทั้งร่าง ​ เผาให้เดือดปุดเป็นฟองฟูดขึ้นมาอยู่ ​ ย่อมยังฟันให้เปื้อนโดยความเป็นมลทินฟัน ​ ย่อมยังอวัยวะมีลิ้นและเพดานเป็นต้นให้เปื้อนโดยความเป็นน้ำลายและเสมหะเป็นต้น ​ ยัง ​ ตา ​ หู ​ จมูก ​ ทวารหนักเป็นต้นให้เปื้อนโดยความเป็นขี้ตา ​ ขี้หู ​ น้ำมูก ​ ปัสสาวะ ​ และอุจจาระเป็นต้น ​ อันเป็นเหตุให้บรรดาทวารที่ถูกเปื้อนแล้ว ​ แม้บุคคลล้างอยู่ทุก ๆ วันก็ไม่เป็นของสะอาด ​ ไม่เป็นของน่าฟูใจ ​ ซึ่งเป็นที่ ๆ บุคคลล้างทวารบางทวารแล้วจำต้องล้างมือด้วยน้ำอีก ​ บุคคลล้างทวารบางทวารแล้ว ล้างมือด้วยโคมัยก็ดี ​ ดินเหนียวก็ดี ​ จุณหอมก็ดี ​ ตั้ง 2  ครั้ง ​ ความเป็นของปฏิกูลก็ยังไม่ไปปราศ ​ พระโยคีพึงพิจารณาความเป็นของปฏิกูลโดยการเปื้อนอย่างนี้
  
 ==การบรรลุอุปจารฌาน== ==การบรรลุอุปจารฌาน==
บรรทัด 149: บรรทัด 149:
 นี้เป็นถ้อยแถลงอย่างพิสดารในการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญา นี้เป็นถ้อยแถลงอย่างพิสดารในการเจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญา
  
-=2.  ​จตุธาตุววัฏฐานกถา=+=จตุธาตุววัฏฐานกถา=
  
 คำที่ข้าพเจ้า[[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_3_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส#​โดยอธิบายวิธีนับจำนวน|กล่าวไว้]]เคยกล่าวไว้ต่อจากอาหารเรปฏิกูลสัญญากัมมัฏฐานว่า ​ คำที่ข้าพเจ้า[[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_3_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส#​โดยอธิบายวิธีนับจำนวน|กล่าวไว้]]เคยกล่าวไว้ต่อจากอาหารเรปฏิกูลสัญญากัมมัฏฐานว่า ​