วิสุทธิมรรค_08_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_08_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส [2020/10/30 04:24]
dhamma [คำอธิบายผู้ปรับสำนวน]
วิสุทธิมรรค_08_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
 =มรณานุสสติกถา= =มรณานุสสติกถา=
  
บรรทัด 257: บรรทัด 257:
 *พระพุทธโฆสาจารย์จะบอกว่า คำว่ากายคตาสติในพระสูตรทั่วไป คือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 บรรพะ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในกายคตาสติสูตร. แต่คำว่ากายคตาสติในที่นี้ มุ่งหมายเอาเฉพาะปฏิกูลมนสิการบรรพะ 1 บรรพะเท่านั้น ส่วนอีก 13 บรรพะนั้น บางบรรพะท่านได้อธิบายไปในลำดับก่อนๆ แล้ว และบางบรรพะก็ยังไม่ถึงลำดับที่จะอธิบาย. *พระพุทธโฆสาจารย์จะบอกว่า คำว่ากายคตาสติในพระสูตรทั่วไป คือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 บรรพะ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในกายคตาสติสูตร. แต่คำว่ากายคตาสติในที่นี้ มุ่งหมายเอาเฉพาะปฏิกูลมนสิการบรรพะ 1 บรรพะเท่านั้น ส่วนอีก 13 บรรพะนั้น บางบรรพะท่านได้อธิบายไปในลำดับก่อนๆ แล้ว และบางบรรพะก็ยังไม่ถึงลำดับที่จะอธิบาย.
  
-*ที่ว่า "​1.อิริยาปถบรรพะ 2.จตุสัมปชัญญบรรพะ 3.ธาตุมนสิการบรรพะ ทรงตรัสไว้ด้วยอำนาจวิปัสสนา"​ นี้ ท่านหมายเอาตามโครงสร้าง[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ไม่ใช่ตามโครงสร้างของ[[กายคตาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] เพราะโครงสร้างหลักของกายคตาสติสูตรเป็นสมถะถึงขั้นฌาน 4 วิชชา 8 ส่วนโครงสร้างหลักของมหาสติปัฏฐานสูตร คือตั้งแต่พลวอุทยัพพยญาณขึ้นไป.+*ที่ว่า "​1.อิริยาปถบรรพะ 2.จตุสัมปชัญญบรรพะ 3.ธาตุมนสิการบรรพะ ทรงตรัสไว้ด้วยอำนาจวิปัสสนา"​ นี้ ท่านหมายเอาตามโครงสร้าง[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ไม่ใช่ตามโครงสร้างของ[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] เพราะโครงสร้างหลักของกายคตาสติสูตรเป็นสมถะถึงขั้นฌาน 4 วิชชา 8 ส่วนโครงสร้างหลักของมหาสติปัฏฐานสูตร คือตั้งแต่พลวอุทยัพพยญาณขึ้นไป.
  
 *ท่านกล่าวว่า "​อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะตรัสไว้เป็นวิปัสสนา"​ ท่านกล่าวตามมหาอรรถกถาของ[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ซึ่งตามนิทานของสูตรนี้ '''​ตรัสกับผู้ที่ทำกรรมฐานมาก่อนแล้ว'''​ จึงสามารถทำวิปัสสนาทั้งในกรรมฐานที่ชำนาญแล้ว ทั้งในอิริยาบถ 4 และทั้งในฐานะ 7 ได้โดยไม่ยาก. แต่เมื่อว่าตามคำอธิบายบทว่า "​วิหรติ"​ ในปฏิสัมภิทามรรค สติปัฏฐานกถา,​ และเมื่อว่าตามสีหวิกกีฬิตนัยของ[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] ซึ่งตามนิทานขอสูตรนี้'''​ตรัสกับผู้เพิ่งเริ่มทำกรรมฐาน'''​ไว้นั้น ​ อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะ ก็คือบทว่า"​วิหรติ"​นั่นเอง ซึ่งบทว่า"​วิหรติ"​นี้ต้องโยคตามไปในทุกกรรมฐานด้วย. กล่าวคือ ทำกรรมฐานแต่ละกองๆ ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 ก่อน พอได้ฌานเป็นวสีตามที่ตรัสไว้ในกายคตาสติสูตรแล้ว ก็ทำวิปัสสนาในทุกๆ กรรมฐาน ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 อีกทีหนึ่งตามมหาสติปัฏฐานสูตรต่อไป. รายละเอียดให้ท่องจำบาลีของพระสูตรนั้นๆ ให้ชำนาญ วิเคราะห์ตามหลักเนตติปกรณ์แล้ว จึงอ่านคำอธิบายในลิงก์ที่ข้าพเจ้าทำไว้นั้นเถิด. *ท่านกล่าวว่า "​อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะตรัสไว้เป็นวิปัสสนา"​ ท่านกล่าวตามมหาอรรถกถาของ[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ซึ่งตามนิทานของสูตรนี้ '''​ตรัสกับผู้ที่ทำกรรมฐานมาก่อนแล้ว'''​ จึงสามารถทำวิปัสสนาทั้งในกรรมฐานที่ชำนาญแล้ว ทั้งในอิริยาบถ 4 และทั้งในฐานะ 7 ได้โดยไม่ยาก. แต่เมื่อว่าตามคำอธิบายบทว่า "​วิหรติ"​ ในปฏิสัมภิทามรรค สติปัฏฐานกถา,​ และเมื่อว่าตามสีหวิกกีฬิตนัยของ[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] ซึ่งตามนิทานขอสูตรนี้'''​ตรัสกับผู้เพิ่งเริ่มทำกรรมฐาน'''​ไว้นั้น ​ อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะ ก็คือบทว่า"​วิหรติ"​นั่นเอง ซึ่งบทว่า"​วิหรติ"​นี้ต้องโยคตามไปในทุกกรรมฐานด้วย. กล่าวคือ ทำกรรมฐานแต่ละกองๆ ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 ก่อน พอได้ฌานเป็นวสีตามที่ตรัสไว้ในกายคตาสติสูตรแล้ว ก็ทำวิปัสสนาในทุกๆ กรรมฐาน ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 อีกทีหนึ่งตามมหาสติปัฏฐานสูตรต่อไป. รายละเอียดให้ท่องจำบาลีของพระสูตรนั้นๆ ให้ชำนาญ วิเคราะห์ตามหลักเนตติปกรณ์แล้ว จึงอ่านคำอธิบายในลิงก์ที่ข้าพเจ้าทำไว้นั้นเถิด.
บรรทัด 270: บรรทัด 270:
 ==วิธีภาวนากายคตาสติกัมมัฏฐาน== ==วิธีภาวนากายคตาสติกัมมัฏฐาน==
  
-ก็กุลบุตรผู้ริเริ่มบำเพ็ญเพียรใคร่จะเจริญกัมมัฏฐานนี้ ​ พึงเข้าไปหากัลยาณมิตรด้วยวิธีการที่ข้าพเจ้าบอกไว้แล้วในกัมมัฏฐานคหณนิทเทส แล้วท่องจำเอากัมมัฏฐานนี้เถิด ​ ฝ่ายอาจารย์นั้น ​ เมื่อจะบอกกัมมัฏฐานพึงบอกอุคคหโกสัลละโดยอาการ 7  และมนสิการโกสัลละโดยส่วน 10+ก็กุลบุตรผู้ริเริ่มบำเพ็ญเพียรใคร่จะเจริญกัมมัฏฐานนี้  ​[[วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส#​คุณสมบัติอาจารย์กัมมัฏฐานที่เป็นกัลยาณมิตร|พึงเข้าไปหากัลยาณมิตร(อาจารย์)ด้วยวิธีการที่ข้าพเจ้าบอกไว้แล้วในกัมมัฏฐานคหณนิทเทส]] แล้วท่องจำเอากัมมัฏฐานนี้เถิด ​ ฝ่ายอาจารย์นั้น ​ เมื่อจะบอกกัมมัฏฐานพึงบอกอุคคหโกสัลละโดยอาการ 7  และมนสิการโกสัลละโดยส่วน 10
  
 ===อุคคหโกสัลละ 7=== ===อุคคหโกสัลละ 7===
บรรทัด 279: บรรทัด 279:
  
 ก็ในกัมมัฏฐานที่ต้องมนสิการโดยเป็นสิ่งปฏิกูลนี้ ​ พระโยคาวจรถึงแม้จะทรงพระไตรปิฏก ​ ในการมนสิการก็ควรทำการสาธยายด้วยวาจาก่อน ​ เพราะพระโยคาวจรบางท่าน ​ เพียงทำการสาธยายเท่านั้น ​ กัมมัฏฐานก็ย่อมปรากฏ ​ เหมือนพระเถระ 2 รูปผู้เรียนพระกัมมัฏฐานในสำนักของพระมหาเทวเถระผู้อยู่ในมลยวิหาร ​ เล่ากันมาว่า ​ พระเถระอันท่านทั้ง 2  นั้นขอกัมมัฏฐานแล้ว ​ ได้ให้คำบาลีในอาการ 32  โดยสั่งว่า ​ ท่านจงทำการสาธยายข้อนี้แหละตลอด 4  เดือน ​ ก็ท่านทั้ง 2  นั้นแม้ถึงท่านจะชำนาญตั้ง 2 – 3  นิกายนี้ก็จริงแล ​ แต่เพราะเหตุที่ท่านเป็นผู้มีปกติรับโอวาทโดยเบื้องขวา ​ จึงหมั่นสาธยายในอาการ 32  ตลอด 4 เดือน ​ ได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันแล้ว ​ เพราะฉะนั้น ​ อาจารย์เมื่อจะบอกกัมมัฏฐาน ​ จึงควรบอกอันเตวาสิกว่า ​ ชั้นต้นจงสาธยายด้วยวาจาเป็นอันดับแรก ก็ในกัมมัฏฐานที่ต้องมนสิการโดยเป็นสิ่งปฏิกูลนี้ ​ พระโยคาวจรถึงแม้จะทรงพระไตรปิฏก ​ ในการมนสิการก็ควรทำการสาธยายด้วยวาจาก่อน ​ เพราะพระโยคาวจรบางท่าน ​ เพียงทำการสาธยายเท่านั้น ​ กัมมัฏฐานก็ย่อมปรากฏ ​ เหมือนพระเถระ 2 รูปผู้เรียนพระกัมมัฏฐานในสำนักของพระมหาเทวเถระผู้อยู่ในมลยวิหาร ​ เล่ากันมาว่า ​ พระเถระอันท่านทั้ง 2  นั้นขอกัมมัฏฐานแล้ว ​ ได้ให้คำบาลีในอาการ 32  โดยสั่งว่า ​ ท่านจงทำการสาธยายข้อนี้แหละตลอด 4  เดือน ​ ก็ท่านทั้ง 2  นั้นแม้ถึงท่านจะชำนาญตั้ง 2 – 3  นิกายนี้ก็จริงแล ​ แต่เพราะเหตุที่ท่านเป็นผู้มีปกติรับโอวาทโดยเบื้องขวา ​ จึงหมั่นสาธยายในอาการ 32  ตลอด 4 เดือน ​ ได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันแล้ว ​ เพราะฉะนั้น ​ อาจารย์เมื่อจะบอกกัมมัฏฐาน ​ จึงควรบอกอันเตวาสิกว่า ​ ชั้นต้นจงสาธยายด้วยวาจาเป็นอันดับแรก
 +
 +(ผู้ปรับสำนวน:​ ที่ท่านผู้ทรงจำนิกายทั้งสองบรรลุด้วยการสาธยายนั้น เพราะธรรมดาผู้ทรงจำนิกายย่อมเข้าใจหลักเนตติปกรณ์ ซึ่งว่าโดยย่อก็คือ[[วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส#​โยคีบุคคลต้องจำให้แม่นยำ|วิธีท่องจำผูกใจในกรรมฐานที่ท่านกล่าวไว้ในกัมมัฏฐานคหณนิทเทส]]แล้วนั่นเองว่า "​ก็แหละ เมื่ออาจารย์สอนกัมมัฏฐานให้อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ โยคีบุคคลนั้นพึงตั้งใจฟัง เพื่อท่องจำเอานิมิตนั้นให้ได้ คือ เอาอาการ 9 อย่างนั้นแต่ละอย่างๆ มาผูกไว้ในใจอย่างนี้ว่า "​คำนี้เป็นบทหลัง,​ คำนี้เป็นบทหน้า,​ ความหมายของบทนั้นๆ เป็นอย่างนี้,​ จุดมุ่งหมายของบทนั้นเป็นอย่างนี้,​ และบทนี้เป็นคำอุปมาอุปไมย"​ (จดจำได้ชำนาญนึกหัวถึงท้าย นึกท้ายถึงหัว เหมือนในบทธรรมคุณข้อว่า ความงาม 3 ของปริยัติธรรม ได้แสดงไว้),​ ฉะนั้น ท่านทั้งสองจึงบรรลุได้ในขณะสาธยาย.)"​
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 18)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 18)''</​fs></​sub>​