วิสุทธิมรรค_08_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_08_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส [2020/10/17 09:33]
dhamma [คำบริกรรมกรรมฐาน]
วิสุทธิมรรค_08_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
 =มรณานุสสติกถา= =มรณานุสสติกถา=
  
บรรทัด 250: บรรทัด 250:
  
 ==คำบริกรรมกรรมฐาน== ==คำบริกรรมกรรมฐาน==
-ใน กายคตาสติกัมมัฏฐาน 14 บรรพะนั้น,​ เพราะเหตุที่ 3 บรรพะนี้ ทรงตรัสไว้ด้วยอำนาจวิปัสสนา คือ 1.อิริยาปถบรรพะ 2.จตุสัมปชัญญบรรพะ 3.ธาตุมนสิการบรรพะ. สิวัฏฐิกบรรพะ 9 ก็ตรัสไว้โดยเป็นอาทีนวานุปัสสนา ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายเช่นกัน. และแม้สมาธิภาวนาที่พึงสำเร็จในอสุภมีอุทธุมาตกอสุภเป็นต้นในสิวัฏฐิกบรรพะเหล่านี้ ข้าพเจ้าก็อธิบายไปแล้วใน[[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_6_อสุภกัมมัฏฐานนิทเทส|อสุภกัมมัฏฐานนิทเทส]]นั่นแล. ฉะนั้น ในกายคตาสติกัมมัฏฐาน 14 บรรพะนี้ บรรพะที่ทรงตรัสไว้ด้วยอำนาจสมาธิ (ที่ข้าพเจ้ายังไม่ได้อธิบายในสมาธินิทเทสนี้เลย) จึงเหลือเพียง 2  บรรพะนี้เท่านั้น ​ คือ อานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ. ​  ​ใน 2 บรรพะนี้ ​ ข้าพเจ้าจะแยกอธิบาย[[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_8_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส#​อานาปานสติกถา|อานาปานบรรพะ]]ออกไปเป็นอีกกัมมัฏฐานต่างหาก ด้วยอำนาจอานาปานสติ. ​ ส่วนกัมมัฏฐานมีอาการ 32  ที่พระผู้มีพระภาคทรงสงเคราะห์มันสมองเข้ากับเยื่อในกระดูกแล้ว ​  ​ตรัสกัมมัฏฐานไว้ใน ม.อุ.กายคตาสติสูตร ด้วยอำนาจมนสิการโดยความเป็นของปฏิกูล ​ อย่างนี้ว่า ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย และกายคตาสติอีกข้อหนึ่ง หลังจากทำกายคตาสติข้อก่อนนั้นแล้ว ​ กาย(ที่ประกอบมาจากธาตุ 4)นี้ใด ​ ที่ข้างบนนับแต่พื้นเท้าขึ้นไป ​ ข้างล่างนับแต่ปลายผมลงมา ​ ข้างๆล้อมด้วยผิวหนัง,​ ภิกษุเห็นกายนั้นแหละบรรจุเต็มไปด้วยส่วนต่างๆ ที่ไม่สะอาด อย่างนี้ว่า "​ผม(ที่ไม่สะอาด)มีอยู่ในกายนี้ ​ ขน... เล็บ... ​ ฟัน... ​ หนัง... ​ เนื้อ... ​ เอ็น... ​ กระดูก... ​ เยื่อในกระดูก... ​ ไต... ​ หัวใจ... ​ ตับ... ​ พังผืด... ​ ม้าม... ​ ปอด... ​ ไส้ใหญ่... ​ ไส้น้อย... ​ อาหารใหม่... ​ อาหารเก่า... ​ ดี... ​ เสลด... ​ หนอง... ​ เลือด... ​ เหงื่อ... ​ มันข้น... ​ น้ำตา... ​ เปลวมัน... ​ น้ำลาย... ​ น้ำมูก... ​ ไขข้อ... ​ มูตร..."​ ดังนี้. ​ เฉพาะกัมมัฏฐานนี้แหละ ที่ข้าพเจ้ามุ่งหมายในที่นี้ว่าเป็นกายคตาสติ.+ใน กายคตาสติกัมมัฏฐาน 14 บรรพะนั้น,​ เพราะเหตุที่ 3 บรรพะนี้ ทรงตรัสไว้ด้วยอำนาจวิปัสสนา คือ 1.อิริยาปถบรรพะ 2.จตุสัมปชัญญบรรพะ 3.ธาตุมนสิการบรรพะ. สิวัฏฐิกบรรพะ 9 ก็ตรัสไว้โดยเป็นอาทีนวานุปัสสนา ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายเช่นกัน. และแม้สมาธิภาวนาที่พึงสำเร็จในอสุภมีอุทธุมาตกอสุภเป็นต้นในสิวัฏฐิกบรรพะเหล่านี้ ข้าพเจ้าก็อธิบายไปแล้วใน[[วิสุทธิมรรค_06_อสุภกัมมัฏฐานนิทเทส|อสุภกัมมัฏฐานนิทเทส]]นั่นแล. ฉะนั้น ในกายคตาสติกัมมัฏฐาน 14 บรรพะนี้ บรรพะที่ทรงตรัสไว้ด้วยอำนาจสมาธิ (ที่ข้าพเจ้ายังไม่ได้อธิบายในสมาธินิทเทสนี้เลย) จึงเหลือเพียง 2  บรรพะนี้เท่านั้น ​ คือ อานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ. ​  ​ใน 2 บรรพะนี้ ​ ข้าพเจ้าจะแยกอธิบาย[[วิสุทธิมรรค_06_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส#​อานาปานสติกถา|อานาปานบรรพะ]]ออกไปเป็นอีกกัมมัฏฐานต่างหาก ด้วยอำนาจอานาปานสติ. ​ ส่วนกัมมัฏฐานมีอาการ 32  ที่พระผู้มีพระภาคทรงสงเคราะห์มันสมองเข้ากับเยื่อในกระดูกแล้ว ​  ​ตรัสกัมมัฏฐานไว้ใน ม.อุ.กายคตาสติสูตร ด้วยอำนาจมนสิการโดยความเป็นของปฏิกูล ​ อย่างนี้ว่า ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย และกายคตาสติอีกข้อหนึ่ง หลังจากทำกายคตาสติข้อก่อนนั้นแล้ว ​ กาย(ที่ประกอบมาจากธาตุ 4)นี้ใด ​ ที่ข้างบนนับแต่พื้นเท้าขึ้นไป ​ ข้างล่างนับแต่ปลายผมลงมา ​ ข้างๆล้อมด้วยผิวหนัง,​ ภิกษุเห็นกายนั้นแหละบรรจุเต็มไปด้วยส่วนต่างๆ ที่ไม่สะอาด อย่างนี้ว่า "​ผม(ที่ไม่สะอาด)มีอยู่ในกายนี้ ​ ขน... เล็บ... ​ ฟัน... ​ หนัง... ​ เนื้อ... ​ เอ็น... ​ กระดูก... ​ เยื่อในกระดูก... ​ ไต... ​ หัวใจ... ​ ตับ... ​ พังผืด... ​ ม้าม... ​ ปอด... ​ ไส้ใหญ่... ​ ไส้น้อย... ​ อาหารใหม่... ​ อาหารเก่า... ​ ดี... ​ เสลด... ​ หนอง... ​ เลือด... ​ เหงื่อ... ​ มันข้น... ​ น้ำตา... ​ เปลวมัน... ​ น้ำลาย... ​ น้ำมูก... ​ ไขข้อ... ​ มูตร..."​ ดังนี้. ​ เฉพาะกัมมัฏฐานนี้แหละ ที่ข้าพเจ้ามุ่งหมายในที่นี้ว่าเป็นกายคตาสติ.
  
  
บรรทัด 257: บรรทัด 257:
 *พระพุทธโฆสาจารย์จะบอกว่า คำว่ากายคตาสติในพระสูตรทั่วไป คือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 บรรพะ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในกายคตาสติสูตร. แต่คำว่ากายคตาสติในที่นี้ มุ่งหมายเอาเฉพาะปฏิกูลมนสิการบรรพะ 1 บรรพะเท่านั้น ส่วนอีก 13 บรรพะนั้น บางบรรพะท่านได้อธิบายไปในลำดับก่อนๆ แล้ว และบางบรรพะก็ยังไม่ถึงลำดับที่จะอธิบาย. *พระพุทธโฆสาจารย์จะบอกว่า คำว่ากายคตาสติในพระสูตรทั่วไป คือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 บรรพะ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในกายคตาสติสูตร. แต่คำว่ากายคตาสติในที่นี้ มุ่งหมายเอาเฉพาะปฏิกูลมนสิการบรรพะ 1 บรรพะเท่านั้น ส่วนอีก 13 บรรพะนั้น บางบรรพะท่านได้อธิบายไปในลำดับก่อนๆ แล้ว และบางบรรพะก็ยังไม่ถึงลำดับที่จะอธิบาย.
  
-*ท่านกล่าวว่า "​อิริยาถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะตรัสไว้เป็นวิปัสสนา"​ ท่านกล่ตามมหาอรรถกถของ[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ​ซึ่งตานิทานของสูตรนี้ '''​ตรัสกับผู้ทีทำกรรมฐานมาก่อนแล้ว'''​ จึงสามารถทำวิปัสสนาทั้งนกรรมฐานที่ำนาญแล้ว ทั้งในอิริยาบถ 4 และทั้งในฐานะ 7 ได้โดยไมยาก. แต่เมื่อว่าตามคำอธิบายบทว่า "​วิหติ"​ ในปฏิัมภิทามรค สติปัฏฐนกถา,​ และเมื่อว่าตามสีหวิกกีฬิตนัยของ[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] ​ซึ่งตามนิทานขอสูตรนี้'''​ตรัสกับผู้เพิ่งเิ่มทำกรรมฐาน'''​ไวนั้น ​ อิริยบถบรรพะแะสมปชัญญะบรรพะ ​็คือบทว่า"​วิหรติ"​นั่นเอง ​ซึ่งบทว่"​วิหรติ"​นี้ต้องโยคตามไปในทุกกรรมฐานด้วย. กล่าวคือ ทำกรรมฐานแ่ละกองๆ ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 ก่อน พอได้ฌานเป็นีตาที่ตรสไวยคตาสติสูตรแล้ว ก็ทำวิปัสสาในทุกๆ กรรมฐน ในทุกอิริยาบถ 4 แะทุฐานะ 7 ีกทีหนึ่ตามมหาสติปัฏฐานสูตรต่ไป. รายละเอียดให้ท่องจำบาลีของพระสูรนั้นๆ ให้ชำนาญ วิเคราะห์ามหักเนตติปกรณ์แล้ว จึง่านคำอธิบาในลิงก์ที่ข้าเจ้ทำไว้นั้นเถิด.+*ท่ว่า "1.อิริยาถบรรพะ ​2.จตุสัมปชัญญบรรพะ 3.ธาตุมนสิการบรรพะ ​ทรงตรัสไว้ด้วยอำาจวิปัสสนา" ​นี้ ​ท่านหมายเอาตามโคงสาง[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ​ม่ใช่ตามครสรของ[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] เพราะโคงสร้างหลักองายคตาติสูตรเป็นสมถะถึงขั้นน 4 วิชชา วนโคงสงหองมหาสติปัฏฐานสูตร ​คือตั้งแ่พลวอุทพยญณขึ้นไป.
  
 +*ท่านกล่าวว่า "​อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะตรัสไว้เป็นวิปัสสนา"​ ท่านกล่าวตามมหาอรรถกถาของ[[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ซึ่งตามนิทานของสูตรนี้ '''​ตรัสกับผู้ที่ทำกรรมฐานมาก่อนแล้ว'''​ จึงสามารถทำวิปัสสนาทั้งในกรรมฐานที่ชำนาญแล้ว ทั้งในอิริยาบถ 4 และทั้งในฐานะ 7 ได้โดยไม่ยาก. แต่เมื่อว่าตามคำอธิบายบทว่า "​วิหรติ"​ ในปฏิสัมภิทามรรค สติปัฏฐานกถา,​ และเมื่อว่าตามสีหวิกกีฬิตนัยของ[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]] ซึ่งตามนิทานขอสูตรนี้'''​ตรัสกับผู้เพิ่งเริ่มทำกรรมฐาน'''​ไว้นั้น ​ อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะ ก็คือบทว่า"​วิหรติ"​นั่นเอง ซึ่งบทว่า"​วิหรติ"​นี้ต้องโยคตามไปในทุกกรรมฐานด้วย. กล่าวคือ ทำกรรมฐานแต่ละกองๆ ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 ก่อน พอได้ฌานเป็นวสีตามที่ตรัสไว้ในกายคตาสติสูตรแล้ว ก็ทำวิปัสสนาในทุกๆ กรรมฐาน ในทุกอิริยาบถ 4 และทุกฐานะ 7 อีกทีหนึ่งตามมหาสติปัฏฐานสูตรต่อไป. รายละเอียดให้ท่องจำบาลีของพระสูตรนั้นๆ ให้ชำนาญ วิเคราะห์ตามหลักเนตติปกรณ์แล้ว จึงอ่านคำอธิบายในลิงก์ที่ข้าพเจ้าทำไว้นั้นเถิด.
 ==อธิบายคำบริกรรมกรรมฐาน== ==อธิบายคำบริกรรมกรรมฐาน==
 พึงทราบการแสดงวิธีเจริญในกายคตาสตินั้น ​ มีการพรรณนาตามบาลีเป็นหลักดังต่อไปนี้ – พึงทราบการแสดงวิธีเจริญในกายคตาสตินั้น ​ มีการพรรณนาตามบาลีเป็นหลักดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 269: บรรทัด 270:
 ==วิธีภาวนากายคตาสติกัมมัฏฐาน== ==วิธีภาวนากายคตาสติกัมมัฏฐาน==
  
-ก็กุลบุตรผู้ริเริ่มบำเพ็ญเพียรใคร่จะเจริญกัมมัฏฐานนี้ ​ พึงเข้าไปหากัลยาณมิตรด้วยวิธีการที่ข้าพเจ้าบอกไว้แล้วในกัมมัฏฐานคหณนิทเทส แล้วท่องจำเอากัมมัฏฐานนี้เถิด ​ ฝ่ายอาจารย์นั้น ​ เมื่อจะบอกกัมมัฏฐานพึงบอกอุคคหโกสัลละโดยอาการ 7  และมนสิการโกสัลละโดยส่วน 10+ก็กุลบุตรผู้ริเริ่มบำเพ็ญเพียรใคร่จะเจริญกัมมัฏฐานนี้  ​[[วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส#​คุณสมบัติอาจารย์กัมมัฏฐานที่เป็นกัลยาณมิตร|พึงเข้าไปหากัลยาณมิตร(อาจารย์)ด้วยวิธีการที่ข้าพเจ้าบอกไว้แล้วในกัมมัฏฐานคหณนิทเทส]] แล้วท่องจำเอากัมมัฏฐานนี้เถิด ​ ฝ่ายอาจารย์นั้น ​ เมื่อจะบอกกัมมัฏฐานพึงบอกอุคคหโกสัลละโดยอาการ 7  และมนสิการโกสัลละโดยส่วน 10
  
 ===อุคคหโกสัลละ 7=== ===อุคคหโกสัลละ 7===
บรรทัด 278: บรรทัด 279:
  
 ก็ในกัมมัฏฐานที่ต้องมนสิการโดยเป็นสิ่งปฏิกูลนี้ ​ พระโยคาวจรถึงแม้จะทรงพระไตรปิฏก ​ ในการมนสิการก็ควรทำการสาธยายด้วยวาจาก่อน ​ เพราะพระโยคาวจรบางท่าน ​ เพียงทำการสาธยายเท่านั้น ​ กัมมัฏฐานก็ย่อมปรากฏ ​ เหมือนพระเถระ 2 รูปผู้เรียนพระกัมมัฏฐานในสำนักของพระมหาเทวเถระผู้อยู่ในมลยวิหาร ​ เล่ากันมาว่า ​ พระเถระอันท่านทั้ง 2  นั้นขอกัมมัฏฐานแล้ว ​ ได้ให้คำบาลีในอาการ 32  โดยสั่งว่า ​ ท่านจงทำการสาธยายข้อนี้แหละตลอด 4  เดือน ​ ก็ท่านทั้ง 2  นั้นแม้ถึงท่านจะชำนาญตั้ง 2 – 3  นิกายนี้ก็จริงแล ​ แต่เพราะเหตุที่ท่านเป็นผู้มีปกติรับโอวาทโดยเบื้องขวา ​ จึงหมั่นสาธยายในอาการ 32  ตลอด 4 เดือน ​ ได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันแล้ว ​ เพราะฉะนั้น ​ อาจารย์เมื่อจะบอกกัมมัฏฐาน ​ จึงควรบอกอันเตวาสิกว่า ​ ชั้นต้นจงสาธยายด้วยวาจาเป็นอันดับแรก ก็ในกัมมัฏฐานที่ต้องมนสิการโดยเป็นสิ่งปฏิกูลนี้ ​ พระโยคาวจรถึงแม้จะทรงพระไตรปิฏก ​ ในการมนสิการก็ควรทำการสาธยายด้วยวาจาก่อน ​ เพราะพระโยคาวจรบางท่าน ​ เพียงทำการสาธยายเท่านั้น ​ กัมมัฏฐานก็ย่อมปรากฏ ​ เหมือนพระเถระ 2 รูปผู้เรียนพระกัมมัฏฐานในสำนักของพระมหาเทวเถระผู้อยู่ในมลยวิหาร ​ เล่ากันมาว่า ​ พระเถระอันท่านทั้ง 2  นั้นขอกัมมัฏฐานแล้ว ​ ได้ให้คำบาลีในอาการ 32  โดยสั่งว่า ​ ท่านจงทำการสาธยายข้อนี้แหละตลอด 4  เดือน ​ ก็ท่านทั้ง 2  นั้นแม้ถึงท่านจะชำนาญตั้ง 2 – 3  นิกายนี้ก็จริงแล ​ แต่เพราะเหตุที่ท่านเป็นผู้มีปกติรับโอวาทโดยเบื้องขวา ​ จึงหมั่นสาธยายในอาการ 32  ตลอด 4 เดือน ​ ได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันแล้ว ​ เพราะฉะนั้น ​ อาจารย์เมื่อจะบอกกัมมัฏฐาน ​ จึงควรบอกอันเตวาสิกว่า ​ ชั้นต้นจงสาธยายด้วยวาจาเป็นอันดับแรก
 +
 +(ผู้ปรับสำนวน:​ ที่ท่านผู้ทรงจำนิกายทั้งสองบรรลุด้วยการสาธยายนั้น เพราะธรรมดาผู้ทรงจำนิกายย่อมเข้าใจหลักเนตติปกรณ์ ซึ่งว่าโดยย่อก็คือ[[วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส#​โยคีบุคคลต้องจำให้แม่นยำ|วิธีท่องจำผูกใจในกรรมฐานที่ท่านกล่าวไว้ในกัมมัฏฐานคหณนิทเทส]]แล้วนั่นเองว่า "​ก็แหละ เมื่ออาจารย์สอนกัมมัฏฐานให้อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ โยคีบุคคลนั้นพึงตั้งใจฟัง เพื่อท่องจำเอานิมิตนั้นให้ได้ คือ เอาอาการ 9 อย่างนั้นแต่ละอย่างๆ มาผูกไว้ในใจอย่างนี้ว่า "​คำนี้เป็นบทหลัง,​ คำนี้เป็นบทหน้า,​ ความหมายของบทนั้นๆ เป็นอย่างนี้,​ จุดมุ่งหมายของบทนั้นเป็นอย่างนี้,​ และบทนี้เป็นคำอุปมาอุปไมย"​ (จดจำได้ชำนาญนึกหัวถึงท้าย นึกท้ายถึงหัว เหมือนในบทธรรมคุณข้อว่า ความงาม 3 ของปริยัติธรรม ได้แสดงไว้),​ ฉะนั้น ท่านทั้งสองจึงบรรลุได้ในขณะสาธยาย.)"​
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 18)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 18)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 688: บรรทัด 691:
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 47)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 47)''</​fs></​sub>​
-==อธิบายคำบริกรรมกรรมฐาน== 
-ก็เพราะอานาปานสติสมาธินั้น ​ เมื่อกล่าวตามแนวของการพรรณนาพระบาลีนั้นแล ​ ย่อมบริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง ​ ฉะนั้น ​ ในอธิการอันว่า ​ อานาปานสติสมาธินั้น ​ จึงมีการแสดงอันมีการพรรณนาพระบาลีเป็นตัวนำดังต่อไปนี้  ​ 
  
 +==อธิบายคำบริกรรมกรรมฐาน==
 ===อธิบาย ​ จตุกกะที่ 1=== ===อธิบาย ​ จตุกกะที่ 1===
  
-อันดับแรกพึงวินิจฉัยในบาลีคำถามว่า ​ กถํ ​ ภาวิโต ​ จ  ภิกฺขเว ​ อานาปานสติสมาธิ ​ ดังต่อไปนี้+ก็เพราะอานาปานสติสมาธินั้น ​ เมื่อกล่าวตามแนวของการพรรณนาพระบาลีนั้นแล ​ ย่อมบริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง ​ ฉะนั้น ​ ในอธิการอันว่า ​ อานาปานสติสมาธินั้น ​ จึงมีการแสดงอันมีการพรรณนาพระบาลีเป็นตัวนำดังต่อไปนี้ ​  
 + 
 +อันดับแรกพึงวินิจฉัยในคำริกรรมกรรมฐนว่า "​ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อานาปานสติสาธิอันพระโยคีอบรมแล้อย่างไร ?  (กถํ ​ ภาวิโต ​ จ  ภิกฺขเว ​ อานาปานสฺสติสมาธิ)" ​ ​ดังต่อไปนี้
  
-คำว่า ​ กถํ ​ นี้เป็นคำถามด้วยความเป็นผู้ใคร่เพื่อจะขยายอานาปานสติสมาธิภาวนา ​ ให้พิสดารโดยประการต่าง ๆ คำว่า ​ ภาวิโต ​ จ  ภิกฺขเว ​ อานาปานสติสมาธิ ​ นี้เป็นคำทรงแสดงไขธรรมที่ทรงตรัสถามไว้ด้วยความเป็นผู้ใคร่เพื่อจะตรัสให้พิสดารโดยประการต่าง ๆ แม้ในคำว่า ​ กถํ ​ พหุลีกโต ​ ฯลฯ ​ วูปสเมติ ​ นี้ ​ ก็นัยนี้เหมือนกัน ​ บรรดาบทเหล่านั้น ​ บทว่า ​ ภาวิโต นี้ ได้แก่  ​ให้เกิดขึ้นแล้วหรือเจริญแล้ว ​ บทว่า ​ อานาปานสติสมาธิ ​ ได้แก่ สมาธิที่สัมปยุตด้วยสติอันกำหนดเอาลมหายใจออกและลมหายใจเข้า ​ หรือสมาธิในอานาปานสติ ​ ชื่อว่าอานาปานสติสมาธิ ​ บทว่า ​ พหุลีกโต ​ ได้แก่ ​ ทำบ่อย ๆ +คำว่า  ​"​อย่างไร ? (กถํ)" ​ ​นี้เป็นคำถามด้วยความเป็นผู้ใคร่เพื่อจะขยายอานาปานสติสมาธิภาวนา ​ ให้พิสดารโดยประการต่าง ๆ คำว่า ​ "​ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อานาปานสติสมาธิอันพระโยคีอบรมแล้วอย่างไร ?  (กถํ ​ ​ภาวิโต ​ จ  ภิกฺขเว ​ อานาปานสฺสติสมาธิ)" ​ ​นี้เป็นคำทรงแสดงไขธรรมที่ทรงตรัสถามไว้ด้วยความเป็นผู้ใคร่เพื่อจะตรัสให้พิสดารโดยประการต่าง ๆ แม้ในคำว่า  ​"​ทำให้มากแล้วอย่างไร ? ฯลฯ ให้อันตรธานสงบระงับโดยพลัน (กถํ ​ พหุลีกโต ​ ฯลฯ ​ วูปสเมติ)" ​ ​นี้ ​ ก็นัยนี้เหมือนกัน ​บรรดาบทเหล่านั้น ​ บทว่า  ​"​อบรมแล้ว (ภาวิโต)" ​นี้ ได้แก่ ​ เกิดขึ้นแล้วหรือเจริญแล้ว ​บทว่า ​ อานาปานสติสมาธิ ​ ได้แก่ สมาธิที่สัมปยุตด้วยสติอันกำหนดเอาลมหายใจออกและลมหายใจเข้า ​ หรือสมาธิในอานาปานสติ ​ ชื่อว่าอานาปานสติสมาธิ ​ บทว่า ​ พหุลีกโต ​ ได้แก่ ​ ทำบ่อย ๆ 
  
 คำว่า ​ สนฺโต ​ เจว ​ ปณีโต ​ จ  นี้ได้แก่สงบด้วยประณีตด้วย ​ พึงทราบการกำหนดความด้วย ​ เอว ​ ศัพท์ใน 2  บท ​ พระองค์ทรงอธิบายไว้อย่างไร ?  ทรงอธิบายไว้ว่า ​ อันอานาปานสติสมาธินี้จะได้เป็นธรรมสงบและประณีต ​ โดยปริยายไร ๆ เหมือนอย่างอสุภกัมมัฏฐาน ​ ซึ่งสงบและประณีตโดยปฏิเวธอย่างเดียว ​ แต่ไม่สงบและประณีตโดยอารมณ์เลย ​ เพราะมีอารมณ์หยาบและมีสิ่งปฏิกูลเป็นอารมณ์หามิได้ ​ โดยที่แท้ ​ เป็นธรรมชื่อว่าสงบคือเข้าไปสงบดับสนิท ​ เพราะทั้งสงบโดยอารมณ์ ​ เพราะทั้งสงบโดยองค์กล่าวคือปฏิเวธ ​ ชื่อว่า ​ ประณีต ​ คือไม่ทำให้เบื่อหน่ายเพราะทั้งประณีตโดยอารมณ์เพราะทั้งประณีตโดยองค์ ​ ดังนี้ ​ เพราะเหตุนั้น ​ จึงตรัสว่า ​ อานาปานสติสมาธินี้เป็นธรรมสงบทั้งประณีต  ​ คำว่า ​ สนฺโต ​ เจว ​ ปณีโต ​ จ  นี้ได้แก่สงบด้วยประณีตด้วย ​ พึงทราบการกำหนดความด้วย ​ เอว ​ ศัพท์ใน 2  บท ​ พระองค์ทรงอธิบายไว้อย่างไร ?  ทรงอธิบายไว้ว่า ​ อันอานาปานสติสมาธินี้จะได้เป็นธรรมสงบและประณีต ​ โดยปริยายไร ๆ เหมือนอย่างอสุภกัมมัฏฐาน ​ ซึ่งสงบและประณีตโดยปฏิเวธอย่างเดียว ​ แต่ไม่สงบและประณีตโดยอารมณ์เลย ​ เพราะมีอารมณ์หยาบและมีสิ่งปฏิกูลเป็นอารมณ์หามิได้ ​ โดยที่แท้ ​ เป็นธรรมชื่อว่าสงบคือเข้าไปสงบดับสนิท ​ เพราะทั้งสงบโดยอารมณ์ ​ เพราะทั้งสงบโดยองค์กล่าวคือปฏิเวธ ​ ชื่อว่า ​ ประณีต ​ คือไม่ทำให้เบื่อหน่ายเพราะทั้งประณีตโดยอารมณ์เพราะทั้งประณีตโดยองค์ ​ ดังนี้ ​ เพราะเหตุนั้น ​ จึงตรัสว่า ​ อานาปานสติสมาธินี้เป็นธรรมสงบทั้งประณีต  ​