วิสุทธิมรรค_01-2_สีลนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_01-2_สีลนิทเทส [2020/08/20 15:53]
dhamma
วิสุทธิมรรค_01-2_สีลนิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head|}} +{{template:วสธมฉปส head|}} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 9)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 9)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 84: บรรทัด 84:
 ปัญหาข้อว่า ​ ศีลมีอานิสงส์อย่างไร ​ วิสัชนาว่า ​ ศีลนั้นมีอันได้ซึ่งคุณเป็นอันมากมีความไม่เดือดร้อนเป็นต้นเป็นอานิสงส์ ​ สมดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ว่า ​ "​ดูก่อนอานันทะ ​ กุศลศีลมีความไม่เดือดร้อนเป็นผล ​ มีความไม่เดือดร้อนเป็นอานิสงส์แล"​ ปัญหาข้อว่า ​ ศีลมีอานิสงส์อย่างไร ​ วิสัชนาว่า ​ ศีลนั้นมีอันได้ซึ่งคุณเป็นอันมากมีความไม่เดือดร้อนเป็นต้นเป็นอานิสงส์ ​ สมดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ว่า ​ "​ดูก่อนอานันทะ ​ กุศลศีลมีความไม่เดือดร้อนเป็นผล ​ มีความไม่เดือดร้อนเป็นอานิสงส์แล"​
  
-<​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 13)''</​fs></​sub>​+<​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 13)''</​fs></​sub=>
  
 ยังมีพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้อย่างอื่นอีกว่า – ดูก่อนคหบดีทั้งหลาย ​ อานิสงส์ของศีลสมบัติของบุคคลผู้มีศีล ​ มี 5 ประการเหล่านี้ ​ อานิสงส์ 5 ประการนั้น ​ คืออะไรบ้าง ? ยังมีพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้อย่างอื่นอีกว่า – ดูก่อนคหบดีทั้งหลาย ​ อานิสงส์ของศีลสมบัติของบุคคลผู้มีศีล ​ มี 5 ประการเหล่านี้ ​ อานิสงส์ 5 ประการนั้น ​ คืออะไรบ้าง ?
บรรทัด 121: บรรทัด 121:
  
 นักศึกษาพึงทราบกถามุขอันแสดงถึงอานิสงส์ของศีล ​ อันเป็นมูลรากแห่งคุณทั้งหลาย ​ และเป็นเครื่องทำลายกำลังแห่งโทษทั้งหลาย ​ ด้วยประการดังพรรณนามาฉะนี้แล นักศึกษาพึงทราบกถามุขอันแสดงถึงอานิสงส์ของศีล ​ อันเป็นมูลรากแห่งคุณทั้งหลาย ​ และเป็นเครื่องทำลายกำลังแห่งโทษทั้งหลาย ​ ด้วยประการดังพรรณนามาฉะนี้แล
 +
 +<​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 15)''</​fs></​sub>​
  
 ==ศีลมีกี่อย่าง== ==ศีลมีกี่อย่าง==
บรรทัด 126: บรรทัด 128:
 ลำดับนี้ ​ จะวิสัชนาในปัญหากรรมข้อที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ศีลนี้มีกี่อย่าง ต่อไปนี้ ลำดับนี้ ​ จะวิสัชนาในปัญหากรรมข้อที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ศีลนี้มีกี่อย่าง ต่อไปนี้
  
-ศีลนี้สิ้นทั้งมวล ​ ชื่อว่า ​ มีอย่างเดียว ​ ด้วยลักษณะคือความปกติของตน ​ เป็นประการแรก +#ศีลนี้สิ้นทั้งมวล ชื่อว่า มีอย่างเดียว ด้วยลักษณะคือความปกติของตน เป็นประการแรก 
- +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 1 โดยแยกเป็น จาริตตศีล 1 วาริตตศีล 1,  
-<​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 15)''</​fs></​sub>​ +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 2 โดยแยกเป็น อาภิสมาจาริกศีล 1 อาทิพรหมจริยกศีล 1,  
- +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 3 โดยแยกเป็น วิรติศีล 1 อวิรติศีล 1,  
-ศีล 2 อย่างหมวดที่ 1 โดยแยกเป็น ​ จาริตตศีล 1 วาริตตศีล 1, ศีล 2 อย่าง ​ หมวดที่ 2 โดยแยกเป็น ​ อาภิสมาจาริกศีล 1 อาทิพรหมจริยกศีล 1, ศีล 2 อย่าง ​ หมวดที่ 3 โดยแยกเป็น ​ วิรติศีล 1 อวิรติศีล 1, ศีล 2 อย่างหมวดที่ 4 โดยแยกเป็น ​ นิสสิตศีล 1 อนิสสิตศีล 1, ศีล 2  อย่างหมวดที่ 5 โดยแยกเป็น ​ กาลปริยันตศีล 1 อาปาณโกฏิกศีล 1, ศีล 2 อย่างหมวดที่ 6 โดยแยกเป็น ​ สปริยันตศีล 1 อปริยันตศีล 1, ศีล 2 อย่างหมวดที่ 7 โดยแยกเป็น ​ โลกิยศีล 1 โลกุตตรศีล 1 +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 4 โดยแยกเป็น นิสสิตศีล 1 อนิสสิตศีล 1,  
- +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 5 โดยแยกเป็น กาลปริยันตศีล 1 อาปาณโกฏิกศีล 1,  
-ศีล 3 อย่างหมวดที่ 1 โดยแยกเป็น ​ หีนศีล 1 มัชฌิมศีล 1 ปณีตศีล 1 , ศีล ​ 3 อย่างหมวดที่ 2 โดยแยกเป็น ​ อัตตาธิปไตยศีล 1 โลกาธิปไตยศีล 1 ธัมมาธิปไตยศีล 1, ศีล 3  อย่างหมวดที่ 3 โดยแยกเป็น ​ ปรามัฏฐศีล 1 อปรามัฏฐศีล 1 ปฏิปัสสัทธิศีล 1, ศีล 3 อย่างหมวดที่ 4 โดยแยกเป็น ​ วิสุทธศีล 1 อวิสุทธศีล 1 เวมติกศีล 1, ศีล 3 อย่างหมวดที่ 5 โดยแยกเป็น ​ เสกขศีล 1 เนวเสกขานาเสกขศีล 1 +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 6 โดยแยกเป็น สปริยันตศีล 1 อปริยันตศีล 1,  
- +#ศีล 2 อย่าง หมวดที่ 7 โดยแยกเป็น โลกิยศีล 1 โลกุตตรศีล 1 
-ศีล 4 อย่างหมวดที่ 1 โดยแยกเป็น ​ หาภาคิยศีล 1 ฐิติภาคิยศีล 1 วิเสสภาคิยศีล 1 นิพเพธภาคิยศีล 1, ศีล 4 อย่างหมวดที่ 2 โดยแยกเป็น ​ ภิกขุศีล 1 ภิกขุนีศีล 1 อนุปสัมปันนศีล 1 คหัฏฐศีล 1, ศีล 4 อย่างหมวดที่ 3 โดยแยกเป็น ​ ปกติศีล 1  ธัมมตาศีล 1  ปุพพเหตุกศีล 1,  ศีล 4 อย่างหมวดที่ 4  โดยแยกเป็น ​ ปาติโมกขสังวรศีล 1  อินทรียสังวรศีล 1  อาชีวปาริสุทธิศีล 1  ปัจจยสันนิสสิตศีล 1 +#ศีล 3 อย่าง หมวดที่ 1 โดยแยกเป็น หีนศีล 1 มัชฌิมศีล 1 ปณีตศีล 1 ,  
- +#ศีล 3 อย่าง หมวดที่ 2 โดยแยกเป็น อัตตาธิปไตยศีล 1 โลกาธิปไตยศีล 1 ธัมมาธิปไตยศีล 1,  
-ศีล 5 อย่างหมวดที่ 1  โดยแยกเป็น ​ ปริยันตปาริสุทธิศีลเป็นต้น ​ ข้อนี้สมจริงดังที่ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีปุตตะแสดงไว้ในคัมภีร์ปฏิสัมภิทามัคค์ว่า ​ "​ศีล 5 อย่าง ​ คือ ​ ปริยันตปาริสุทธิศีล 1  อปริยันตปาริสุทธิศีล 1  ปริปุณณปาริสุทธิศีล 1  อปรามัฏฐปาริสุทธิศีล 1 ปฏิปัสสัทธิปาริสุทธิศีล 1", ศีล 5 อย่างหมวดที่ 2 โดยแยกเป็น ปหานศีล 1 เวรมณีศีล 1  เจตนาศีล 1  สังวรศีล 1  อวีติกกมศีล 1+#ศีล 3 อย่าง หมวดที่ 3 โดยแยกเป็น ปรามัฏฐศีล 1 อปรามัฏฐศีล 1 ปฏิปัสสัทธิศีล 1,  
 +#ศีล 3 อย่าง หมวดที่ 4 โดยแยกเป็น วิสุทธศีล 1 อวิสุทธศีล 1 เวมติกศีล 1,  
 +#ศีล 3 อย่าง หมวดที่ 5 โดยแยกเป็น เสกขศีล 1 เนวเสกขานาเสกขศีล 1 
 +#ศีล 4 อย่าง หมวดที่ 1 โดยแยกเป็น หาภาคิยศีล 1 ฐิติภาคิยศีล 1 วิเสสภาคิยศีล 1 นิพเพธภาคิยศีล 1,  
 +#ศีล 4 อย่าง หมวดที่ 2 โดยแยกเป็น ภิกขุศีล 1 ภิกขุนีศีล 1 อนุปสัมปันนศีล 1 คหัฏฐศีล 1,  
 +#ศีล 4 อย่าง หมวดที่ 3 โดยแยกเป็น ปกติศีล 1 ธัมมตาศีล 1 ปุพพเหตุกศีล 1,  
 +#ศีล 4 อย่าง หมวดที่ 4 โดยแยกเป็น ปาติโมกขสังวรศีล 1 อินทรียสังวรศีล 1 อาชีวปาริสุทธิศีล 1 ปัจจยสันนิสสิตศีล 1 
 +#ศีล 5 อย่าง หมวดที่ 1 โดยแยกเป็น ปริยันตปาริสุทธิศีลเป็นต้น ข้อนี้สมจริงดังที่ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีปุตตะแสดงไว้ในคัมภีร์ปฏิสัมภิทามัคค์ว่า "​ศีล 5 อย่าง คือ ปริยันตปาริสุทธิศีล 1 อปริยันตปาริสุทธิศีล 1 ปริปุณณปาริสุทธิศีล 1 อปรามัฏฐปาริสุทธิศีล 1 ปฏิปัสสัทธิปาริสุทธิศีล 1", ​ 
 +#ศีล 5 อย่าง หมวดที่ 2 โดยแยกเป็น ปหานศีล 1 เวรมณีศีล 1 เจตนาศีล 1 สังวรศีล 1 อวีติกกมศีล 1
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 16) ''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 16) ''</​fs></​sub>​