มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/12/25 10:09]
dhamma [คำอธิบายผู้ปรับสำนวน]
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 129: บรรทัด 129:
  
 ===คำอธิบายผู้ปรับสำนวน=== ===คำอธิบายผู้ปรับสำนวน===
 +สำหรับท่านที่อ่านอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรอย่างเดียว ไม่ได้ท่องจำในระบบมุขปาฐะ อาจสงสัยในคำแปลตรงนี้ว่าทำไมจึงต่างจากอรรถกถา ข้อนั้นมีอธิบายดังนี้.-
 +
 ในกายคตาสติสูตร แสดงอิริยาบถบรรพะเป็นการฝึกฌานวสี ต่อจากบรรพะอื่นๆ มีอานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ เป็นต้น เพราะแสดงแก่ผู้เพิ่งสนใจกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงไม่มีพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น แยกกายสังขารคือลมหายใจ ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง ... ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ เป็นต้น. แต่ในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาท่านแสดงอิริยาบถบรรพะเป็นวิปัสสนา เพราะสูตรนี้ทรงแสดงแก่ผู้ทำภาวนามาก่อนแล้ว จึงให้ทำพลววิปัสสนาทั้งในอารมณ์กรรมฐานและในนามรูปที่ทำกรรมฐานในอารมณ์อยู่ ด้วยพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ และบทว่า "​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว"​ เป็นต้น. ในกายคตาสติสูตร แสดงอิริยาบถบรรพะเป็นการฝึกฌานวสี ต่อจากบรรพะอื่นๆ มีอานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ เป็นต้น เพราะแสดงแก่ผู้เพิ่งสนใจกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงไม่มีพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น แยกกายสังขารคือลมหายใจ ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง ... ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ เป็นต้น. แต่ในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาท่านแสดงอิริยาบถบรรพะเป็นวิปัสสนา เพราะสูตรนี้ทรงแสดงแก่ผู้ทำภาวนามาก่อนแล้ว จึงให้ทำพลววิปัสสนาทั้งในอารมณ์กรรมฐานและในนามรูปที่ทำกรรมฐานในอารมณ์อยู่ ด้วยพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ และบทว่า "​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว"​ เป็นต้น.
  
-ในที่นี้แปลไว้กลางๆ ใช้ได้กับทั้ง 2 สูตร เพราะครึ่งแรกของอิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะ ปฏิบัติแบบเดียวกันทั้ง 2 สูตรจึงใช้ร่วมกันได้ ต่างกันที่ครึ่งหลัง ตามประเภทอินทรีย์อ่อนและกล้าของผู้ฟัง.+ในที่นี้แปลไว้กลางๆ ใช้ได้กับทั้ง 2 สูตร เพราะครึ่งแรกของอิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะ ปฏิบัติแบบเดียวกันทั้ง 2 สูตรจึงใช้ร่วมกันได้ ต่างกันที่ครึ่งหลัง ตามประเภทอินทรีย์อ่อนและกล้าของผู้ฟัง. ฉะนั้น ผมจึงต้องแปลอย่างนั้น ไม่สามารถแปลแต่เพียงว่า "​อิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะ คือการทำวิปัสสนาในอิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะ"​ เพราะต้องแปลให้สอดคล้องกับพระสูตรอื่นๆ อรรถกถาอื่นๆ ด้วย โดยอาศัยวิธีการในระบบมุขปาฐะ มีเตติปกรณ์เป็นต้น ในที่อื่นๆ ก็นัยเดียวกันนี้.
  
 อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร แสดงอิริยาบถเป็นธาตุไว้ อาศัยบทในสูตรว่า "​ปรํ",​ "​ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต",​ และ "​ยถา ฐิตํ ยถา ปณิหิตํ"​ โดย ในอรรถกถา ขยายโดยใช้บทว่า "​ฐิตํ"​ ร่วมด้วย. ฉะนั้น บรรพะที่ขยายอิริยาบถบรรพะ ก็คือ ธาตุบรรพะ (จตุธาตุววัตถาน) นั่นเอง. อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร แสดงอิริยาบถเป็นธาตุไว้ อาศัยบทในสูตรว่า "​ปรํ",​ "​ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต",​ และ "​ยถา ฐิตํ ยถา ปณิหิตํ"​ โดย ในอรรถกถา ขยายโดยใช้บทว่า "​ฐิตํ"​ ร่วมด้วย. ฉะนั้น บรรพะที่ขยายอิริยาบถบรรพะ ก็คือ ธาตุบรรพะ (จตุธาตุววัตถาน) นั่นเอง.
บรรทัด 137: บรรทัด 139:
 ฏี-ปณิหิโตติ ยถา ยถา '''​ปจฺจเยหิ'''​ ปกาเรหิ นิหิโต ฐปิโตฯ ในที่อื่นที่แสดงสภาวะธรรมอยู่ก็เช่นกัน ให้แปลคำว่า "​อาการ"​ เป็นปัจจัยปัจจยุปบัน หรือ ปฏิจจสมุปปาทปฏิจจสมุปปันนะ ทั้งหมด. ฏี-ปณิหิโตติ ยถา ยถา '''​ปจฺจเยหิ'''​ ปกาเรหิ นิหิโต ฐปิโตฯ ในที่อื่นที่แสดงสภาวะธรรมอยู่ก็เช่นกัน ให้แปลคำว่า "​อาการ"​ เป็นปัจจัยปัจจยุปบัน หรือ ปฏิจจสมุปปาทปฏิจจสมุปปันนะ ทั้งหมด.
  
-=แต่นี้ไปยังไม่ได้ปรับสำนวน=+
 ===สัมปชัญญบรรพ=== ===สัมปชัญญบรรพ===
  
-[276]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมทำความรู้สึวใร  ​ก้าว ในารอย ​แล ในการเหลียว ​ในการคู้เข้า ในการเหยียดออกในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ​ในการัน ​ดื่ม ​การเคี้ยว ​การลิ้ม ​ในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึว ใเดิน ​การยืน ​การนั่งการหลับ ​การตื่น ​การพูด ​การนิ่ง ดังพรรณนฉะนี้ ภิษุอมพิจารณาเ็นกายในกายภานบ้าง ​รณเห็นกายในกายภายนอบ้าง ​รณาเห็นกายในกายายในทั้งายนอบ้าง ​รณาเห็นรมคือควาเกิดข้นในายบ้างรณาเห็นธรคือควาเสือมในายบ้าง ​รณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้ควมเสอมใกายบ้าง ​ย่อยู่ ​อีกอย่างหนึง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมอยู่ ก็เพียงสักว่าควมรู้ เพียงสักวอาศัยะลึกเท่านั้น ​เธเป็ผู้อัตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือั่นะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แลภิกษุชื่อว่าพิจรณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ+[276]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ​ 
 +#ภิกษุย่อมรู้(อารมณ์รรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะก้าว ในขณะถอย  
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะแล ในขณะเหลียว ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะคู้เข้า ในขณะเหยียดออก 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะกิน ขณะดื่ม ​ขณะเคี้ยว ​ขณะลิ้ม ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ​ 
 +#ย่อมรู้(อารมณ์รรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะเดิน ​ขณะยืน ​ขณะนั่งขณะหลับ ​ขณะตื่น ​ขณะพูด ​ขณะนิ่ง ​ 
 + 
 +#​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่วข้งตน แยกาสังขารคืยใจ (็นต้น) ​ในกองกรัชกายคืออิริาบถ 4 ของตเองอยู่บ้าง 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนดังกล่าวข้างต้น แยกายสังขารคือลมหายใจ (เป็ต้น) ในกองกรัชกายคืออิริาบถ 4 ของคนอื่นอยู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอุปัสสนาดังล่วข้างต้น แยกกายังขารคือลมหายใจ (เป็น) ในกอกรัชกายคืออิริยาบถ 4 ทั้งของตงและของคนอื่นอยู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดในกายสังขารคือหายใจังกล่าว้างต้นในอิริยบถ 4 อู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุดับในกายสังขารคือหายใจดังกลาวข้างต้นในอิริยบถ 4 อู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดและเหตุดับใกายสังรคือหายจดังล่วข้างต้นในิริยาบถ 4 อยู่บ้าง ​ 
 + 
 +วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ​"​มีกายสังขารคือลหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)" ​ก็เพียงเพือให้ปัญญ(ปชนาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านัน เพียงเพื่ออบรมติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น ​ภิกษุไม่ใช้ิริยาบถ 4 ฐาะ 7 าศยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า ​"ตมอุปัสสนา 7 แยกกายในกองกรัชกายออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7"
  
 '''​จบสัมปชัญญบรรพ'''​ '''​จบสัมปชัญญบรรพ'''​
  
 +====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน====
 +
 +
 +=แต่นี้ไปยังไม่ได้ปรับสำนวน=
 ===ปฏิกูลมนสิการบรรพ=== ===ปฏิกูลมนสิการบรรพ===