มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/06/28 12:21]
dhamma [คำบริกรรมกรรมฐานย่อ]
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
 =เหตุเกิดพระสูตร= =เหตุเกิดพระสูตร=
  
 9. มหาสติปัฏฐานสูตร (22) 9. มหาสติปัฏฐานสูตร (22)
  
-[273]   ​ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้+[273]   [[https://​84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b=9&​i=1&​p=2#​อรรถกถาพรหมชาลสูตร|ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้]]
  
 สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในกุรุชนบท มีนิคมของชาวกุรุ ชื่อว่ากัมมาสทัมมะ ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ​ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในกุรุชนบท มีนิคมของชาวกุรุ ชื่อว่ากัมมาสทัมมะ ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ​
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถนน คือ มรรคนี้ มีปลายทางหนึ่งเดียว เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. มรรคนี้ คือ สติปัฏฐาน 4 ประการ (สัมมาสติ 4). สติปัฏฐาน 4 ประการ เป็นไฉน? ​ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถนน คือ มรรคนี้ มีปลายทางหนึ่งเดียว เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. มรรคนี้ คือ สติปัฏฐาน 4 ประการ (สัมมาสติ 4). สติปัฏฐาน 4 ประการ เป็นไฉน? ​
  
-# ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ [https://​sutta.men/?​th.r.104.161.0.0.อนุปสฺสนสีโล เฝ้า][https://​th.wikisource.org/​wiki/​ปฏิสัมภิทามรรค_ปัญญาวรรค#​ปัญญาวรรค_สติปัฏฐานกถา อนุปัสสนา 7] [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​กายานุปสฺสี แยกกาย]ในกองกรัชกาย[https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.กาเย,​กาโย,​กาย ออกเป็นส่วนๆ] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อิริยติ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อาตาปีติ มีความเพียรเผากิเลส 4] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.ปชานาติ,​สมฺปชานการี มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.20.สมฺมาสติฯ มีสติ 4] กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 [[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​สมุทยสัจนิทเทส ในโลก]] คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้+# ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ [https://​sutta.men/?​th.r.104.161.0.0.อนุปสฺสนสีโล เฝ้า][[ปฏิสัมภิทามรรค_21-30_ปัญญาวรรค#​ปัญญาวรรค_สติปัฏฐานกถา|อนุปัสสนา 7]] [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​กายานุปสฺสี|แยกกาย]]ในกองกรัชกาย[https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.กาเย,​กาโย,​กาย ออกเป็นส่วนๆ] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อิริยติ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อาตาปีติ มีความเพียรเผากิเลส 4] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.ปชานาติ,​สมฺปชานการี มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.20.สมฺมาสติฯ มีสติ 4] กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 [[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​สมุทยสัจนิทเทส|ในโลก]] คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้
 # ตามอนุปัสสนา 7 แยกเวทนาในกองเวทนาออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้ # ตามอนุปัสสนา 7 แยกเวทนาในกองเวทนาออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้
 # ตามอนุปัสสนา 7 แยกจิตในจิตออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้ # ตามอนุปัสสนา 7 แยกจิตในจิตออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
 การหมุนบรรพะตามสีหวิกกีฬิตนัย (พุทธาสยะ) จะหมุนประมาณนี้:​ การหมุนบรรพะตามสีหวิกกีฬิตนัย (พุทธาสยะ) จะหมุนประมาณนี้:​
  
-[https://​th.wikisource.org/​wiki/​กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน กายคตาสติสูตร]:​ นิสีทติอานาปานัสสติจตุกกะแรก ภายในภายนอก > ขยญาณ (วิปัสสนาปิดท้ายทั้งข้อนี้และทุกลำดับต่อจากนี้ ต้องทำขยญาณปิดท้ายทุกบรรพะ ด้วยบทว่า สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี หรือเฉพาะอานาปานาบรรพ ตาม จตุกกะ 2-4 อานาปานสติสูตร ถ้าทำแล้วไม่บรรลุ ก็ทำข้อต่อไป) -> นิสฺสินฺโนคจฺฉนฺโตฐิโตสยาโนอานาปานัสสสติจตุกกะแรก ในนอก > ขยญาณ -> ฐานะ 7 ในนอก อานาปานัสสติ (จบคำว่า "​วสี"​ จากฏีกากายคตาสติสูตรเฉพาะอานาปานะ จริงๆ โครงสร้างทั้ง 2 สูตรแสดงวสีอยู่แล้ว ทั้งลำดับ ทั้งบริบท ทั้งฏีกา) > ขยญาณ -> แยกกายเป็นอวัยวะนิมิตบัญญัติ 32 ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  แยกธาตุ 4 ของอวัยวะ จนได้นิมิตบัญญัติ (แบบไม่สมบูรณ์ เพราะอารมณ์เป็นกามธรรมคือธาตุ 4 แต่ต้น จึงได้เพียงอุปจารฌาน) หรือ ถ้าได้อานาปานฌานจะทำทั้งตัวเลยก็ได้ เพราะเคยเห็นอานาปานกลาปนิมิตมาก่อนแล้วที่จุดกระทบ (มหาฏีกา อานาปาน) ทั้งหมด ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  นวสีวถิกาอัปปนาฌาน ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก (ข้าพเจ้าเข้าใจว่า บริบทในกายคตาสติสูตรจนถึงตรงนี้เป็นอุปจารสมาธิ โดยติปุกขลนัย ที่ มหาอ.มหาสติ. ว่าไว้ จนกระทั่งถึงจุดที่กายคตาสติสูตรแสดงฌาน) > ขยญาณ -> กสิณ 4 (และสมถกรรมฐาน 40 ที่เหลือ) ใน อิ 4 ฐ 7 ถึงสมาบัติ 8 และ อภิญญา 5 > ขยญาณ -> มหาสติปัฏฐานสูตร ธาตุบรรพะ เริ่มวิปัสสนาแยกธาตุ 4 ให้ได้สภาวะธาตุทั้งร่าง พร้อมทั้งปัจจัย (ดึงอุธํ ปาทตลา มาจากบรรพะก่อน;​ดึงปัจจัยมาจาก ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต กับ ยถาฐิตํ ยถาปณิหิตํ อ.+ฏี. กับ วิสุทธิ. จตุธาตุ.) ในอิ.นั่ง ​ ในนอก > ขยญาณ ->  เอาอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มาทำสัมมสนญาณ (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร,​ อ.สามัญญผลสูตร,​ ขุ.ปฏิ+วิสุทฺธิ.สัมมสนญาณ) > ขยญาณ ->  ทำอาทีนวานุปัสสนา ใน รูปกรรมฐานทั้งปวง ->  เอา เวทนา จิต หรือ สัญญาสังขารธรรม (นามกรรมฐาน) ที่กำลังเกิดขึ้นปรากฎชัดอยู่ มาแยกฆนะ 4 ตามในนิทเทสนั้นๆ แล้วจัดหมวดกิจ 5  ในอริยสัจ ตามธัมมานุปัสสนา > ขยญาณ -> พิจารณาสัจจบรรพะ ​ > ขยญาณ.+[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]]: นิสีทติอานาปานัสสติจตุกกะแรก ภายในภายนอก > ขยญาณ (วิปัสสนาปิดท้ายทั้งข้อนี้และทุกลำดับต่อจากนี้ ต้องทำขยญาณปิดท้ายทุกบรรพะ ด้วยบทว่า สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี หรือเฉพาะอานาปานาบรรพ ตาม จตุกกะ 2-4 อานาปานสติสูตร ถ้าทำแล้วไม่บรรลุ ก็ทำข้อต่อไป) -> นิสฺสินฺโนคจฺฉนฺโตฐิโตสยาโนอานาปานัสสสติจตุกกะแรก ในนอก > ขยญาณ -> ฐานะ 7 ในนอก อานาปานัสสติ (จบคำว่า "​วสี"​ จากฏีกากายคตาสติสูตรเฉพาะอานาปานะ จริงๆ โครงสร้างทั้ง 2 สูตรแสดงวสีอยู่แล้ว ทั้งลำดับ ทั้งบริบท ทั้งฏีกา) > ขยญาณ -> แยกกายเป็นอวัยวะนิมิตบัญญัติ 32 ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  แยกธาตุ 4 ของอวัยวะ จนได้นิมิตบัญญัติ (แบบไม่สมบูรณ์ เพราะอารมณ์เป็นกามธรรมคือธาตุ 4 แต่ต้น จึงได้เพียงอุปจารฌาน) หรือ ถ้าได้อานาปานฌานจะทำทั้งตัวเลยก็ได้ เพราะเคยเห็นอานาปานกลาปนิมิตมาก่อนแล้วที่จุดกระทบ (มหาฏีกา อานาปาน) ทั้งหมด ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  นวสีวถิกาอัปปนาฌาน ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก (ข้าพเจ้าเข้าใจว่า บริบทในกายคตาสติสูตรจนถึงตรงนี้เป็นอุปจารสมาธิ โดยติปุกขลนัย ที่ มหาอ.มหาสติ. ว่าไว้ จนกระทั่งถึงจุดที่กายคตาสติสูตรแสดงฌาน) > ขยญาณ -> กสิณ 4 (และสมถกรรมฐาน 40 ที่เหลือ) ใน อิ 4 ฐ 7 ถึงสมาบัติ 8 และ อภิญญา 5 > ขยญาณ -> มหาสติปัฏฐานสูตร ธาตุบรรพะ เริ่มวิปัสสนาแยกธาตุ 4 ให้ได้สภาวะธาตุทั้งร่าง พร้อมทั้งปัจจัย (ดึงอุธํ ปาทตลา มาจากบรรพะก่อน;​ดึงปัจจัยมาจาก ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต กับ ยถาฐิตํ ยถาปณิหิตํ อ.+ฏี. กับ วิสุทธิ. จตุธาตุ.) ในอิ.นั่ง ​ ในนอก > ขยญาณ ->  เอาอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มาทำสัมมสนญาณ (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร,​ อ.สามัญญผลสูตร,​ ขุ.ปฏิ+วิสุทฺธิ.สัมมสนญาณ) > ขยญาณ ->  ทำอาทีนวานุปัสสนา ใน รูปกรรมฐานทั้งปวง ->  เอา เวทนา จิต หรือ สัญญาสังขารธรรม (นามกรรมฐาน) ที่กำลังเกิดขึ้นปรากฎชัดอยู่ มาแยกฆนะ 4 ตามในนิทเทสนั้นๆ แล้วจัดหมวดกิจ 5  ในอริยสัจ ตามธัมมานุปัสสนา > ขยญาณ -> พิจารณาสัจจบรรพะ ​ > ขยญาณ.
  
 อนึ่ง ติปุกขลนัย (ลัดลำดับ) ให้ดูในอรรถกถานั้นๆ. อนึ่ง ติปุกขลนัย (ลัดลำดับ) ให้ดูในอรรถกถานั้นๆ.
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
 ที่เหลืออธิบายไว้ในบทว่า "​อยโน"​ แล้ว. ที่เหลืออธิบายไว้ในบทว่า "​อยโน"​ แล้ว.
  
-การเติมคำว่า "​แยก"​ นี้ มาจากนิทธารณัตถะ (each) ของ สัตตมีวิภัต ที่ปรากฎหลายแห่งในมหาสติปัฏฐานสูตร คือ กาเย,​ กายสฺมึ,​ เวทนาสุ,​ จิตฺเต,​ จิตฺตสฺมึ,​ ธมฺเมสุ,​ นีวรเณสุ,​ ขนฺเธสุ,​ อชฺฌตฺติกพาหิรายตเนสุ,​ โพชฺฌงฺเคสุ,​ อริยสจฺเจสุ ซึ่งสอดคล้องกับ [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อรรถกถาบทบริกรรมเวทนาจิตตธัมมานุปัสสนา อ.นิทเทสของสติปัฏฐานสูตร] ที่แสดง "​กาเย"​ ในอรรถะว่า "​ถอนฆนบัญญัติ"​ ไว้อย่างละเอียด.+การเติมคำว่า "​แยก"​ นี้ มาจากนิทธารณัตถะ (each) ของ สัตตมีวิภัต ที่ปรากฎหลายแห่งในมหาสติปัฏฐานสูตร คือ กาเย,​ กายสฺมึ,​ เวทนาสุ,​ จิตฺเต,​ จิตฺตสฺมึ,​ ธมฺเมสุ,​ นีวรเณสุ,​ ขนฺเธสุ,​ อชฺฌตฺติกพาหิรายตเนสุ,​ โพชฺฌงฺเคสุ,​ อริยสจฺเจสุ ซึ่งสอดคล้องกับ [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อรรถกถาบทบริกรรมเวทนาจิตตธัมมานุปัสสนา|อ.นิทเทสของสติปัฏฐานสูตร]] ที่แสดง "​กาเย"​ ในอรรถะว่า "​ถอนฆนบัญญัติ"​ ไว้อย่างละเอียด.
  
 บทอื่น ได้ทำลิงก์ไปยังบรรพะนั้นๆ แล้ว คำอธิบายจักมีในบรรพะนั้นๆ. บทอื่น ได้ทำลิงก์ไปยังบรรพะนั้นๆ แล้ว คำอธิบายจักมีในบรรพะนั้นๆ.
บรรทัด 58: บรรทัด 58:
 =คำบริกรรมกรรมฐานละเอียด= =คำบริกรรมกรรมฐานละเอียด=
  
-==กายานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==กายานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 ===อานาปานบรรพ=== ===อานาปานบรรพ===
บรรทัด 86: บรรทัด 86:
 ====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน==== ====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน====
  
-ทั้ง ​ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ '''​ในที่นี้'''​ กับทั้ง "​ความมีกัลยาณมิตร"​ ใน [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.นีวรณบรรพ อ.นิวรณ์บรรพะ] และกับทั้ง "​คบหาบุคคลผู้มีสติมั่นคง,​ คบหาบุคคลผู้หมดจด,​ คบหาบุคคลผู้ปรารภความเพียร,​ คบหาบุคคลผู้มีปัญญา,​ คบหาบุคคลผู้สงบกาย,​ คบหาบุคคลผู้มีจิตเป็นสมาธิ,​ คบหาบุคคลผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์และสังขาร"​ ใน [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.โพชฌงคบรรพ อ.โพชฌงค์บรรพะ] ทั้งหมดนี้ล้วนมีอรรถะอันเดียวกัน ต่างกันที่ลำดับก่อนหลัง,​ '''​อธิบายว่า'''​ ใน วิสุทธิ. [https://​th.wikisource.org/​wiki/​วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_3_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส กัมมัฏฐานคหณนิทเทส] แสดง "​วิธีการเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร"​ เป็นต้น ไว้ก่อน "​ปถวีกสิณนิทเทส"​ เป็นต้น,​ ตัวอย่างเช่น ​ ผู้ปฏิบติมือใหม่ จะต้องฝึกปริยัติกับอาจารย์ตามวิธีในกัมมัฏฐานคหณนิทเทสนั้นก่อน ถ้าเป็นพระภิกษุก็[http://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=4&​siri=39&​h=ทรงอนุญาตให้ถือนิสสัย#​hl ต้องถือนิสสัย] ถ้าเป็นฆราวาสก็เข้าไปอุปัฏฐากบ้าง สนทนาหรือนั่งสมาธิด้วยกันกับผู้มีจิตเป็นสมาธิทั้งหลายบ้าง เป็นต้น '''​ล้วนเหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติมือใหม่'''​. แต่ท่านใดที่ได้วสีในฌานก็ดี ได้พลววิปัสสนาแล้วก็ดี ก็ถึงจะทำข้อว่า "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ ได้. อนึ่ง แม้เมื่อเป็นอาจารย์ การจะออกจากข้อ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ เพื่อกลับมาเป็นกัลยาณมิตรให้กับลูกศิษย์ก็สมควร แต่ควรรักษาวสีไว้ด้วย เพราะปริยัติอาศัยกามคุณ มี สี เสียง เป็นต้น ในการอ่านพระธรรม ฟังพระธรรม ท่องจำพระธรรม ปริยัติจึงยังเป็นปฏิปักข์ต่อฌาน อาจทำให้ฌานเสื่อมได้ ถ้าวสีไม่มีกำลังพอ,​ ส่วนวิปัสสนานั้นวิสุทธิมรรคไม่ได้กล่าวไว้ว่า มีปริยัติเป้นปฏิปักข์ เพราะวิปัสสนาอาศัยปริยัติมาก ถึงอย่างนั้น อาจารย์ทั้งหลายก็ไม่ควรประมาท เพราะถ้าฌานเสื่อมแล้ว แม้พลววิปัสสนาก็เสื่อมด้วย อธิบายว่า เพราะนิวรณ์เป็นปฏิปักข์ต่อพลววิปัสสนาสมาธิ เนื่องจาก[https://​th.wikisource.org/​wiki/​ปฏิสัมภิทามรรค_มหาวรรค_2#​ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส ภังคญาณตามอนุปัสสนาวิปัสสนาจารจิตอยู่] ถ้าฌานเสื่อมก็เท่ากับนิวรณ์เกิดแทรกฌานและพลววิปัสสนาญาณได้ พลววิปัสสนาญาณก็เป็นอันเสื่อมด้วย ฉะนั้น อาจารย์ทั้งหลายผู้จะอนุเคราะห์ลูกศิษย์ควรรักษาวสีในฌานไว้เถิด.+ทั้ง ​ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ '''​ในที่นี้'''​ กับทั้ง "​ความมีกัลยาณมิตร"​ ใน [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.นีวรณบรรพ|อ.นิวรณ์บรรพะ]] และกับทั้ง "​คบหาบุคคลผู้มีสติมั่นคง,​ คบหาบุคคลผู้หมดจด,​ คบหาบุคคลผู้ปรารภความเพียร,​ คบหาบุคคลผู้มีปัญญา,​ คบหาบุคคลผู้สงบกาย,​ คบหาบุคคลผู้มีจิตเป็นสมาธิ,​ คบหาบุคคลผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์และสังขาร"​ ใน [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.โพชฌงคบรรพ|อ.โพชฌงค์บรรพะ]] ทั้งหมดนี้ล้วนมีอรรถะอันเดียวกัน ต่างกันที่ลำดับก่อนหลัง,​ '''​อธิบายว่า'''​ ใน วิสุทธิ. [[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_3_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส|กัมมัฏฐานคหณนิทเทส]] แสดง "​วิธีการเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร"​ เป็นต้น ไว้ก่อน "​ปถวีกสิณนิทเทส"​ เป็นต้น,​ ตัวอย่างเช่น ​ ผู้ปฏิบติมือใหม่ จะต้องฝึกปริยัติกับอาจารย์ตามวิธีในกัมมัฏฐานคหณนิทเทสนั้นก่อน ถ้าเป็นพระภิกษุก็[http://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=4&​siri=39&​h=ทรงอนุญาตให้ถือนิสสัย#​hl ต้องถือนิสสัย] ถ้าเป็นฆราวาสก็เข้าไปอุปัฏฐากบ้าง สนทนาหรือนั่งสมาธิด้วยกันกับผู้มีจิตเป็นสมาธิทั้งหลายบ้าง เป็นต้น '''​ล้วนเหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติมือใหม่'''​. แต่ท่านใดที่ได้วสีในฌานก็ดี ได้พลววิปัสสนาแล้วก็ดี ก็ถึงจะทำข้อว่า "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ ได้. อนึ่ง แม้เมื่อเป็นอาจารย์ การจะออกจากข้อ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ เพื่อกลับมาเป็นกัลยาณมิตรให้กับลูกศิษย์ก็สมควร แต่ควรรักษาวสีไว้ด้วย เพราะปริยัติอาศัยกามคุณ มี สี เสียง เป็นต้น ในการอ่านพระธรรม ฟังพระธรรม ท่องจำพระธรรม ปริยัติจึงยังเป็นปฏิปักข์ต่อฌาน อาจทำให้ฌานเสื่อมได้ ถ้าวสีไม่มีกำลังพอ,​ ส่วนวิปัสสนานั้นวิสุทธิมรรคไม่ได้กล่าวไว้ว่า มีปริยัติเป้นปฏิปักข์ เพราะวิปัสสนาอาศัยปริยัติมาก ถึงอย่างนั้น อาจารย์ทั้งหลายก็ไม่ควรประมาท เพราะถ้าฌานเสื่อมแล้ว แม้พลววิปัสสนาก็เสื่อมด้วย อธิบายว่า เพราะนิวรณ์เป็นปฏิปักข์ต่อพลววิปัสสนาสมาธิ เนื่องจาก[[ปฏิสัมภิทามรรค_01-2_มหาวรรค#​ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส|ภังคญาณตามอนุปัสสนาวิปัสสนาจารจิตอยู่]] ถ้าฌานเสื่อมก็เท่ากับนิวรณ์เกิดแทรกฌานและพลววิปัสสนาญาณได้ พลววิปัสสนาญาณก็เป็นอันเสื่อมด้วย ฉะนั้น อาจารย์ทั้งหลายผู้จะอนุเคราะห์ลูกศิษย์ควรรักษาวสีในฌานไว้เถิด.
  
 ปชานาติ (ปญฺญา) ในบรรพะนี้ รู้ 4 "ป (ปการ)"​ คือ 1. ลมยาว 2. ลมสั้น 3. ลมสั้นหรือยาวตลอดสาย 4. ลมสั้นหรือยาวที่เบาลงๆ. ปชานาติ (ปญฺญา) ในบรรพะนี้ รู้ 4 "ป (ปการ)"​ คือ 1. ลมยาว 2. ลมสั้น 3. ลมสั้นหรือยาวตลอดสาย 4. ลมสั้นหรือยาวที่เบาลงๆ.
  
-รู้ลม ไม่ใช่รู้ธาตุ 4 ไม่ใช่เย็น ไม่ใช่แข็ง ไม่ใช่กระทบ ลมเป็นอัฏฐกกลาปบัญญัติที่จิตคิดขึ้นจากปฐวีธาตุ ​ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ที่เกิดพร้อมกันอยู่ ธาตุเหล่านี้จึงกระทบกายปสาทะได้ แต่ผู้ปฏิบัติต้องรู้ลมบัญญัติที่ยาวหรือสั้น โดยอาศัยธาตุเหล่านั้นที่จุดกระทบปลายจมูก คือ เมื่อกระทบกู็รู้ลมยาว ลมสั้น ไม่ใช่รู้เย็น ร้อน อ่อนแข็ง ตึงไหว หรือ กระทบ เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นธาตุ ไม่ใช่ลมหายใจยาวสั้น. ลมชัดที่สุด จะไม่ย้ายจุดสัมผัส ไม่เช่นนั้นสมาธิจะไม่ตั้งมั่น เพราะไปเน้นรู้กระทบปรมัตถ์แทนลมบัญญัติ (วิวิจฺเจว กาเมหิ) ผู้ปฏิบัติจึงต้องกำหนดอยู่แถวที่ใดที่หนึ่งที่ปลายจมูก ไม่ตามลมเข้าไปข้างในจากปลายจมูกและไม่ตามออกไปนอกจากปลายจมูก.+รู้ลม ไม่ใช่รู้ธาตุ 4 ไม่ใช่เย็น ไม่ใช่แข็ง ไม่ใช่กระทบ ลมเป็นอัฏฐกกลาปบัญญัติที่จิตคิดขึ้นจากปฐวีธาตุ ​ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ที่เกิดพร้อมกันอยู่ ธาตุเหล่านี้จึงกระทบกายปสาทะได้ แต่ผู้ปฏิบัติต้องรู้ลมบัญญัติที่ยาวหรือสั้น โดยอาศัยธาตุเหล่านั้นที่จุดกระทบปลายจมูก คือ เมื่อกระทบกู็รู้ลมยาว ลมสั้น ไม่ใช่รู้เย็น ร้อน อ่อนแข็ง ตึงไหว หรือ กระทบ เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นธาตุ ไม่ใช่ลมหายใจยาวสั้น. ลมชัดที่สุด จะไม่ย้ายจุดสัมผัส ไม่เช่นนั้นสมาธิจะไม่ตั้งมั่น เพราะไปเน้นรู้กระทบปรมัตถ์แทนลมบัญญัติ (วิวิจฺเจว กาเมหิ) ผู้ปฏิบัติจึงต้องกำหนดอยู่แถวที่ใดที่หนึ่งที่ปลายจมูก ไม่ตามลมเข้าไปข้างในจากปลายจมูกและไม่ตามออกไปนอกจากปลายจมูก. ​และสำคัญที่สุด คือ ''​รู้ลมเพื่อเจริญกุศลจิตให้ต่อเนื่อง ไม่ใช่รู้ลมเพื่อเจริญลม.''​
  
 ที่อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "​รู้ลมธรรมชาติ ไม่บังคับลม"​ แต่ในบรรพะนี้กล่าวว่า "​ฝึกอยู่ว่า (สิกฺขติ)"​ ทั้ง 2 คำมีความหมายเดียวกัน เพราะลมธรรมชาติ คือ ลมที่เบาลงๆ (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) ซึ่งเป็นอารมณ์ของ ปชานาติ,​ ส่วนการฝึกนั้น คือ "​ปชานาติ"​ที่พยายามฝึกให้เกิดต่อเนื่องตลอดกองลมเข้า/​ออก และ ปชานาติที่พยายามฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ (ลมธรรมชาติ). อีกอย่างหนึ่ง ที่อาจารย์ทั้งหลายไม่ให้บังคับลมก็เพราะผู้ปฏิบัติใหม่บางท่านพยายามจะหายใจให้กระทบชัดๆ การทำเช่นนี้เป็นการดูธาตุ ไม่ใช่การดูลมหายใจบัญญัติ ซึ่งจะทำให้ฟุ้งซ่าน เพราะธาตุเป็นกามธรรมที่พัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตไม่ได้ จึงเป็นปฏิปักข์ต่อสมาธิ แต่ลมหายใจเป็นบัญญัติที่สามารถพัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตได้,​ นอกจากนี้ การบังคับลมจะทำให้เครียด ซึ่งเป็นปฏิปักข์ต่อโพชฌงค์และองค์ฌาน คือ ปัสสัทธิ-สมาธิ-อุเปกขา-ปีติ-สุข ดังนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงแนะนำไม่ให้บังคับลม. แต่การไม่บังคับลมนั้น ก็ต้องฝึกรู้ลมตลอดสาย และฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ ด้วย. ที่อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "​รู้ลมธรรมชาติ ไม่บังคับลม"​ แต่ในบรรพะนี้กล่าวว่า "​ฝึกอยู่ว่า (สิกฺขติ)"​ ทั้ง 2 คำมีความหมายเดียวกัน เพราะลมธรรมชาติ คือ ลมที่เบาลงๆ (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) ซึ่งเป็นอารมณ์ของ ปชานาติ,​ ส่วนการฝึกนั้น คือ "​ปชานาติ"​ที่พยายามฝึกให้เกิดต่อเนื่องตลอดกองลมเข้า/​ออก และ ปชานาติที่พยายามฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ (ลมธรรมชาติ). อีกอย่างหนึ่ง ที่อาจารย์ทั้งหลายไม่ให้บังคับลมก็เพราะผู้ปฏิบัติใหม่บางท่านพยายามจะหายใจให้กระทบชัดๆ การทำเช่นนี้เป็นการดูธาตุ ไม่ใช่การดูลมหายใจบัญญัติ ซึ่งจะทำให้ฟุ้งซ่าน เพราะธาตุเป็นกามธรรมที่พัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตไม่ได้ จึงเป็นปฏิปักข์ต่อสมาธิ แต่ลมหายใจเป็นบัญญัติที่สามารถพัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตได้,​ นอกจากนี้ การบังคับลมจะทำให้เครียด ซึ่งเป็นปฏิปักข์ต่อโพชฌงค์และองค์ฌาน คือ ปัสสัทธิ-สมาธิ-อุเปกขา-ปีติ-สุข ดังนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงแนะนำไม่ให้บังคับลม. แต่การไม่บังคับลมนั้น ก็ต้องฝึกรู้ลมตลอดสาย และฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ ด้วย.
บรรทัด 97: บรรทัด 97:
  
 กาเย ในบรรพะนี้โยคเข้ากับ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ > นิสีทติ อุชุํ (กรช)กายํ ปณิธาย > อสฺสสามิ,​ ส่วน กาย ใน กายานุปสฺสี โยคเข้ากับ ทีฆํ/​รสฺสํ กายสงฺขารํ,​ ส่วน กายสฺมึ โยค กายสงฺขารํ ใน กายานุปสฺสี อีกทีหนึ่ง. ส่วน อตฺถิ กาโยติ นี้ เข้ากับ กายสฺมึ อีกทีหนึ่ง เช่นกัน. ทั้งหมดดูได้จากความต่างของวิภัติ และความต่างของ วา/จ ศัพท์. กาเย ในบรรพะนี้โยคเข้ากับ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ > นิสีทติ อุชุํ (กรช)กายํ ปณิธาย > อสฺสสามิ,​ ส่วน กาย ใน กายานุปสฺสี โยคเข้ากับ ทีฆํ/​รสฺสํ กายสงฺขารํ,​ ส่วน กายสฺมึ โยค กายสงฺขารํ ใน กายานุปสฺสี อีกทีหนึ่ง. ส่วน อตฺถิ กาโยติ นี้ เข้ากับ กายสฺมึ อีกทีหนึ่ง เช่นกัน. ทั้งหมดดูได้จากความต่างของวิภัติ และความต่างของ วา/จ ศัพท์.
 +
 +----
 +ที่ว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น (อิติ) แยกกายสังขารคือลมหายใจ (กาเย) ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง (อชฺฌตฺตํ วา ​ กายานุปสฺสี วิหรติ)"​ เพราะ อิติ โยค ปฐมจตุกฺก ของอานาปานบรรพะ กาย ศัพท์ ก็ต้องโยค "​ลมหายใจ"​ เช่นกัน. ส่วนที่กล่าวเฉพาะอิริยาบถนั่ง เพราะตามหลักปุพฺพาปรสนฺธิด้วยอำนาจสีหวิกฺกีฬิตนัยนั้น เมื่อตอนต้นบรรพะ กล่าวว่า "​นิทฺสีทติ"​ และบรรพะถัดไปเป็นอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะ ที่ตรงกับคำขยายของ "​วิหรติ"​ ในปฏิสัมภิทามรรค,​ วิภังค์,​ และอรรถกถาของสูตรนี้,​ รวมถึงตรงกับกายคตาสติสูตรส่วนที่ต่อจาก อิติ ของทุกบรรพะ และที่มูลบาลี,​อรรถกถา,​[https://​sutta.men/?​th.r.129.105.0.0.วสีภูโต#​hl ฏีกา]ขยายการทำกายคตาสติ 14 ให้ถึงอัปปนาฌานที่เป็นวสีไว้ด้วย. ​
 +
 +ที่ว่า "​ภิกษุนั่งตามอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง (สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ)"​ ฏีกาขยาย สมุทยธมฺมานุปสฺสี ไว้ 2 นัย ซึ่งสมควรทั้งคู่ โดยนัยที่แปลว่า "​ผู้ตามเห็นเหตุเกิด"​ นี้กล่าวตามหลักปุพฺพาปรสนฺธิโดยสีหวิกฺกีฬิตนัย คือ เพราะได้กล่าวสมถะจนถึงวิชชา 8 ไว้ในกายคตาสติสูตรแล้ว นำ วิชชาที่ 1 และ 8 ในสูตรนั้น ซึ่งขยายไว้ในสีลักขันธวรรค มีสามัญญผลสูตรเป็นต้น แล้วมาอธิบายให้ละเอียดด้วยอำนาจขยญาณพลววิปัสสนาเป็นต้นไปไว้ในสูตรนี้. ​
 +
 +กาเย ในอุทเทส องค์ธรรม คือ กรชกาย เป็นต้น (ดูอรรถกถา),​ กาย ในกายานุปสฺสี อุทเทส องค์ธรรม คือ กาย ที่ถูกทำฆนวินิพฺโภคะ ละเอียดลงๆ จนถึง ขณะปัจจุบัน (ดู ปฏิ.สติปฏฺฐานกถา,​ วิภังค. สติปัฏฐานวิภังค์,​ อรรถกถาสูตรนี้,​ ปฏิ.อ. สัมมสนญาณนิทฺเทส และ อุทยัพพยญาณนิทเทส [บาลีเท่านั้น] รวมถึง วิสุทฺธิ.มหาฏี. อุทยัพพยญาณกถาวณฺณนา ด้วย.),​ ส่วน กาเย และ กายานุปสฺสี ในนิทเทส 14 บรรพะ ก็คือส่วนขยายของอุทเทสนั่นเอง. อรรถกถาอุทเทสตรงที่ขยายไว้โดยใช้ศัพท์ที่ปรากฎในสูตรนี้ นั่นคือ ปุพฺพาปรสนฺธิ สีหวิกฺกีฬิตนัย. ส่วนขยายอื่นๆ ก็นัยอื่นๆ (เป็นสภาคะ ฆฏนา กัน, ไม่ได้ขัดแย้งกัน). กายสฺมึ องค์ธรรมคือ ส่วนที่แยก ฆนวินิพฺโภค จาก กาเย ของบรรพะแล้ว นำมาเห็นเหตุเกิดเหตุดับต่อ เช่น ล่มหายใจ ใน ขุ.ปฏิ. [https://​sutta.men/?​th.n.45.170.. อานาปานกถา] ปฐมจตุกฺก ก็อธิบายในทำนองให้แยกออกเป็นสภาวะ ซึ่งก็ตรงกับจตุกฺกวิมุตฺต ใน วิสุทฺธิ. อานาปานกถา ที่แสดงการแยกนามรูปและการกำหนดไตรลักษณ์ไว้ ก่อนจะแสดงจตุกฺกที่ 2-4. 
 +
 +"​ส่วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า '​มีกายสังขารคือลมหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)'​ ก็เพียงเพื่อให้ปัญญา(ปชานาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านั้น เพียงเพื่ออบรมสติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น (อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย)"​ คือ เมื่อตามแยกสภาวะจนเหลือแต่ปรมัตถธรรมที่เกิดได้จริง โดยปัจจัย 4 โดยขณปัจจุบัน 1 ในแต่ละขันธ์ จนทำลายฆนสัญญาได้แล้ว ด้วยบทว่า "​สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา"​ เป็นต้น ก็จะเห็นเป็นเพียงสภาวะไม่มีสัตว์บุคคลที่บังคับบัญชาได้. เมื่อเห็นขณปัจจุบัน ก็เห็นคาหะ 3 ในอุปักกิเลส 10 ได้ จึงละคาหะ 3 นั้นในวิปัสสนาจารจิตที่เพิ่งดับไปได้ ปชานาติ ก็จะกลายเป็น ญาณํ. ​ คาหะ 3 ในสูตรนี้ ทรงตรัสขยายให้ละเอียดไว้ด้วยอำนาจอุปาทานและสมุทยสัจในสัจจบรรพะแล้ว แต่ในที่นี้ยังแสดงไว้โดยย่อ จึงตรัสว่า '​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มีอุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. (อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ)'​ฯ
  
 ===อิริยาปถบรรพ=== ===อิริยาปถบรรพ===
บรรทัด 120: บรรทัด 129:
  
 ===คำอธิบายผู้ปรับสำนวน=== ===คำอธิบายผู้ปรับสำนวน===
 +สำหรับท่านที่อ่านอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรอย่างเดียว ไม่ได้ท่องจำในระบบมุขปาฐะ อาจสงสัยในคำแปลตรงนี้ว่าทำไมจึงต่างจากอรรถกถา ข้อนั้นมีอธิบายดังนี้.-
 +
 ในกายคตาสติสูตร แสดงอิริยาบถบรรพะเป็นการฝึกฌานวสี ต่อจากบรรพะอื่นๆ มีอานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ เป็นต้น เพราะแสดงแก่ผู้เพิ่งสนใจกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงไม่มีพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น แยกกายสังขารคือลมหายใจ ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง ... ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ เป็นต้น. แต่ในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาท่านแสดงอิริยาบถบรรพะเป็นวิปัสสนา เพราะสูตรนี้ทรงแสดงแก่ผู้ทำภาวนามาก่อนแล้ว จึงให้ทำพลววิปัสสนาทั้งในอารมณ์กรรมฐานและในนามรูปที่ทำกรรมฐานในอารมณ์อยู่ ด้วยพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ และบทว่า "​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว"​ เป็นต้น. ในกายคตาสติสูตร แสดงอิริยาบถบรรพะเป็นการฝึกฌานวสี ต่อจากบรรพะอื่นๆ มีอานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ เป็นต้น เพราะแสดงแก่ผู้เพิ่งสนใจกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงไม่มีพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น แยกกายสังขารคือลมหายใจ ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง ... ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ เป็นต้น. แต่ในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาท่านแสดงอิริยาบถบรรพะเป็นวิปัสสนา เพราะสูตรนี้ทรงแสดงแก่ผู้ทำภาวนามาก่อนแล้ว จึงให้ทำพลววิปัสสนาทั้งในอารมณ์กรรมฐานและในนามรูปที่ทำกรรมฐานในอารมณ์อยู่ ด้วยพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ และบทว่า "​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว"​ เป็นต้น.
  
-ในที่นี้แปลไว้กลางๆ ใช้ได้กับทั้ง 2 สูตร เพราะครึ่งแรกของอิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะ ปฏิบัติแบบเดียวกันทั้ง 2 สูตรจึงใช้ร่วมกันได้ ต่างกันที่ครึ่งหลัง ตามประเภทอินทรีย์อ่อนและกล้าของผู้ฟัง.+ในที่นี้แปลไว้กลางๆ ใช้ได้กับทั้ง 2 สูตร เพราะครึ่งแรกของอิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะ ปฏิบัติแบบเดียวกันทั้ง 2 สูตรจึงใช้ร่วมกันได้ ต่างกันที่ครึ่งหลัง ตามประเภทอินทรีย์อ่อนและกล้าของผู้ฟัง. ฉะนั้น ผมจึงต้องแปลอย่างนั้น ไม่สามารถแปลแต่เพียงว่า "​อิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะ คือการทำวิปัสสนาในอิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะ"​ เพราะต้องแปลให้สอดคล้องกับพระสูตรอื่นๆ อรรถกถาอื่นๆ ด้วย โดยอาศัยวิธีการในระบบมุขปาฐะ มีเตติปกรณ์เป็นต้น ในที่อื่นๆ ก็นัยเดียวกันนี้.
  
 อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร แสดงอิริยาบถเป็นธาตุไว้ อาศัยบทในสูตรว่า "​ปรํ",​ "​ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต",​ และ "​ยถา ฐิตํ ยถา ปณิหิตํ"​ โดย ในอรรถกถา ขยายโดยใช้บทว่า "​ฐิตํ"​ ร่วมด้วย. ฉะนั้น บรรพะที่ขยายอิริยาบถบรรพะ ก็คือ ธาตุบรรพะ (จตุธาตุววัตถาน) นั่นเอง. อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร แสดงอิริยาบถเป็นธาตุไว้ อาศัยบทในสูตรว่า "​ปรํ",​ "​ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต",​ และ "​ยถา ฐิตํ ยถา ปณิหิตํ"​ โดย ในอรรถกถา ขยายโดยใช้บทว่า "​ฐิตํ"​ ร่วมด้วย. ฉะนั้น บรรพะที่ขยายอิริยาบถบรรพะ ก็คือ ธาตุบรรพะ (จตุธาตุววัตถาน) นั่นเอง.
บรรทัด 128: บรรทัด 139:
 ฏี-ปณิหิโตติ ยถา ยถา '''​ปจฺจเยหิ'''​ ปกาเรหิ นิหิโต ฐปิโตฯ ในที่อื่นที่แสดงสภาวะธรรมอยู่ก็เช่นกัน ให้แปลคำว่า "​อาการ"​ เป็นปัจจัยปัจจยุปบัน หรือ ปฏิจจสมุปปาทปฏิจจสมุปปันนะ ทั้งหมด. ฏี-ปณิหิโตติ ยถา ยถา '''​ปจฺจเยหิ'''​ ปกาเรหิ นิหิโต ฐปิโตฯ ในที่อื่นที่แสดงสภาวะธรรมอยู่ก็เช่นกัน ให้แปลคำว่า "​อาการ"​ เป็นปัจจัยปัจจยุปบัน หรือ ปฏิจจสมุปปาทปฏิจจสมุปปันนะ ทั้งหมด.
  
-=แต่นี้ไปยังไม่ได้ปรับสำนวน=+
 ===สัมปชัญญบรรพ=== ===สัมปชัญญบรรพ===
  
-[276]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมทำความรู้สึวใร  ​ก้าว ในารอย ​แล ในการเหลียว ​ในการคู้เข้า ในการเหยียดออกในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ​ในการัน ​ดื่ม ​การเคี้ยว ​การลิ้ม ​ในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึว ใเดิน ​การยืน ​การนั่งการหลับ ​การตื่น ​การพูด ​การนิ่ง ดังพรรณนฉะนี้ ภิษุอมพิจารณาเ็นกายในกายภานบ้าง ​รณเห็นกายในกายภายนอบ้าง ​รณาเห็นกายในกายายในทั้งายนอบ้าง ​รณาเห็นรมคือควาเกิดข้นในายบ้างรณาเห็นธรคือควาเสือมในายบ้าง ​รณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้ควมเสอมใกายบ้าง ​ย่อยู่ ​อีกอย่างหนึง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมอยู่ ก็เพียงสักว่าควมรู้ เพียงสักวอาศัยะลึกเท่านั้น ​เธเป็ผู้อัตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือั่นะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แลภิกษุชื่อว่าพิจรณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ+[276]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ​ 
 +#ภิกษุย่อมรู้(อารมณ์รรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะก้าว ในขณะถอย  
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะแล ในขณะเหลียว ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะคู้เข้า ในขณะเหยียดออก 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะกิน ขณะดื่ม ​ขณะเคี้ยว ​ขณะลิ้ม ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ​ 
 +#ย่อมรู้(อารมณ์รรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะเดิน ​ขณะยืน ​ขณะนั่งขณะหลับ ​ขณะตื่น ​ขณะพูด ​ขณะนิ่ง ​ 
 + 
 +#​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่วข้งตน แยกาสังขารคืยใจ (็นต้น) ​ในกองกรัชกายคืออิริาบถ 4 ของตเองอยู่บ้าง 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนดังกล่าวข้างต้น แยกายสังขารคือลมหายใจ (เป็ต้น) ในกองกรัชกายคืออิริาบถ 4 ของคนอื่นอยู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอุปัสสนาดังล่วข้างต้น แยกกายังขารคือลมหายใจ (เป็น) ในกอกรัชกายคืออิริยาบถ 4 ทั้งของตงและของคนอื่นอยู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดในกายสังขารคือหายใจังกล่าว้างต้นในอิริยบถ 4 อู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุดับในกายสังขารคือหายใจดังกลาวข้างต้นในอิริยบถ 4 อู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดและเหตุดับใกายสังรคือหายจดังล่วข้างต้นในิริยาบถ 4 อยู่บ้าง ​ 
 + 
 +วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ​"​มีกายสังขารคือลหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)" ​ก็เพียงเพือให้ปัญญ(ปชนาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านัน เพียงเพื่ออบรมติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น ​ภิกษุไม่ใช้ิริยาบถ 4 ฐาะ 7 าศยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า ​"ตมอุปัสสนา 7 แยกกายในกองกรัชกายออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7"
  
 '''​จบสัมปชัญญบรรพ'''​ '''​จบสัมปชัญญบรรพ'''​
  
 +====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน====
 +
 +
 +=แต่นี้ไปยังไม่ได้ปรับสำนวน=
 ===ปฏิกูลมนสิการบรรพ=== ===ปฏิกูลมนสิการบรรพ===
  
บรรทัด 171: บรรทัด 202:
 '''​จบกายานุปัสสนา'''​ '''​จบกายานุปัสสนา'''​
  
-==เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 [288]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่อย่างไร ​ เล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เสวยสุขเวทนาอยู่ ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนา หรือเสวยทุกขเวทนา ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนา หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนาก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา หรือ เสวยสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนามีอามิส หรือ เสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส หรือเสวยทุกขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนามีอามิส หรือ เสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิสหรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิสหรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายในบ้างพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในเวทนาบ้าง อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า เวทนามีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ฯ [288]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่อย่างไร ​ เล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เสวยสุขเวทนาอยู่ ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนา หรือเสวยทุกขเวทนา ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนา หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนาก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา หรือ เสวยสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนามีอามิส หรือ เสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส หรือเสวยทุกขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนามีอามิส หรือ เสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิสหรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิสหรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายในบ้างพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในเวทนาบ้าง อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า เวทนามีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ฯ
บรรทัด 177: บรรทัด 208:
 '''​จบเวทนานุปัสสนา'''​ '''​จบเวทนานุปัสสนา'''​
  
-==จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 [289]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่อย่างไรเล่า ​ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รู้ว่าจิตหดหู่ จิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตภายในบ้าง พิจารณาเห็นจิตในจิตภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตบ้างพิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในจิตบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า จิตมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ฯ [289]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่อย่างไรเล่า ​ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รู้ว่าจิตหดหู่ จิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตภายในบ้าง พิจารณาเห็นจิตในจิตภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตบ้างพิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในจิตบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า จิตมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ฯ
บรรทัด 183: บรรทัด 214:
 '''​จบจิตตานุปัสสนา'''​ '''​จบจิตตานุปัสสนา'''​
  
-==ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 ===นีวรณบรรพ=== ===นีวรณบรรพ===