มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision Both sides next revision
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/12/25 10:08]
dhamma
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/12/25 10:09]
dhamma [คำอธิบายผู้ปรับสำนวน]
บรรทัด 105: บรรทัด 105:
 กาเย ในอุทเทส องค์ธรรม คือ กรชกาย เป็นต้น (ดูอรรถกถา),​ กาย ในกายานุปสฺสี อุทเทส องค์ธรรม คือ กาย ที่ถูกทำฆนวินิพฺโภคะ ละเอียดลงๆ จนถึง ขณะปัจจุบัน (ดู ปฏิ.สติปฏฺฐานกถา,​ วิภังค. สติปัฏฐานวิภังค์,​ อรรถกถาสูตรนี้,​ ปฏิ.อ. สัมมสนญาณนิทฺเทส และ อุทยัพพยญาณนิทเทส [บาลีเท่านั้น] รวมถึง วิสุทฺธิ.มหาฏี. อุทยัพพยญาณกถาวณฺณนา ด้วย.),​ ส่วน กาเย และ กายานุปสฺสี ในนิทเทส 14 บรรพะ ก็คือส่วนขยายของอุทเทสนั่นเอง. อรรถกถาอุทเทสตรงที่ขยายไว้โดยใช้ศัพท์ที่ปรากฎในสูตรนี้ นั่นคือ ปุพฺพาปรสนฺธิ สีหวิกฺกีฬิตนัย. ส่วนขยายอื่นๆ ก็นัยอื่นๆ (เป็นสภาคะ ฆฏนา กัน, ไม่ได้ขัดแย้งกัน). กายสฺมึ องค์ธรรมคือ ส่วนที่แยก ฆนวินิพฺโภค จาก กาเย ของบรรพะแล้ว นำมาเห็นเหตุเกิดเหตุดับต่อ เช่น ล่มหายใจ ใน ขุ.ปฏิ. [https://​sutta.men/?​th.n.45.170.. อานาปานกถา] ปฐมจตุกฺก ก็อธิบายในทำนองให้แยกออกเป็นสภาวะ ซึ่งก็ตรงกับจตุกฺกวิมุตฺต ใน วิสุทฺธิ. อานาปานกถา ที่แสดงการแยกนามรูปและการกำหนดไตรลักษณ์ไว้ ก่อนจะแสดงจตุกฺกที่ 2-4.  กาเย ในอุทเทส องค์ธรรม คือ กรชกาย เป็นต้น (ดูอรรถกถา),​ กาย ในกายานุปสฺสี อุทเทส องค์ธรรม คือ กาย ที่ถูกทำฆนวินิพฺโภคะ ละเอียดลงๆ จนถึง ขณะปัจจุบัน (ดู ปฏิ.สติปฏฺฐานกถา,​ วิภังค. สติปัฏฐานวิภังค์,​ อรรถกถาสูตรนี้,​ ปฏิ.อ. สัมมสนญาณนิทฺเทส และ อุทยัพพยญาณนิทเทส [บาลีเท่านั้น] รวมถึง วิสุทฺธิ.มหาฏี. อุทยัพพยญาณกถาวณฺณนา ด้วย.),​ ส่วน กาเย และ กายานุปสฺสี ในนิทเทส 14 บรรพะ ก็คือส่วนขยายของอุทเทสนั่นเอง. อรรถกถาอุทเทสตรงที่ขยายไว้โดยใช้ศัพท์ที่ปรากฎในสูตรนี้ นั่นคือ ปุพฺพาปรสนฺธิ สีหวิกฺกีฬิตนัย. ส่วนขยายอื่นๆ ก็นัยอื่นๆ (เป็นสภาคะ ฆฏนา กัน, ไม่ได้ขัดแย้งกัน). กายสฺมึ องค์ธรรมคือ ส่วนที่แยก ฆนวินิพฺโภค จาก กาเย ของบรรพะแล้ว นำมาเห็นเหตุเกิดเหตุดับต่อ เช่น ล่มหายใจ ใน ขุ.ปฏิ. [https://​sutta.men/?​th.n.45.170.. อานาปานกถา] ปฐมจตุกฺก ก็อธิบายในทำนองให้แยกออกเป็นสภาวะ ซึ่งก็ตรงกับจตุกฺกวิมุตฺต ใน วิสุทฺธิ. อานาปานกถา ที่แสดงการแยกนามรูปและการกำหนดไตรลักษณ์ไว้ ก่อนจะแสดงจตุกฺกที่ 2-4. 
  
-"​ส่วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า '​มีกายสังขารคือลมหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)'​ ก็เพียงเพื่อให้ปัญญา(ปชานาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านั้น เพียงเพื่ออบรมสติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น (อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย)"​ คือ เมื่อตามแยกสภาวะจนเหลือแต่ปรมัตถธรรมที่เกิดได้จริง โดยปัจจัย 4 โดยขณปัจจุบัน 1 ในแต่ละขันธ์ จนทำลายฆนสัญญาได้แล้ว ด้วยบทว่า "​สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา"​ เป็นต้น ก็จะเห็นเป็นเพียงสภาวะไม่มีสัตว์บุคคลที่บังคับบัญชาได้. เมื่อเห็นขณปัจจุบัน ก็เห็นคาหะ 3 ในอุปักกิเลส 10 ได้ จึงละคาหะ 3 นั้นในวิปัสสนาจารจิตที่เพิ่งดับไปได้ ปชานาติ ก็จะกลายเป็น ญาณํ. ​ คาหะ 3 ในสูตรนี้ ทรงตรัสขยายให้ละเอียดไว้ด้วยอำนาจอุปาทานและสมุทยสัจในสัจจบรรพะแล้ว แต่ในที่นี้ยังแสดงไว้โดยย่อ จึงตรัสว่า '​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มีอุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า "​ตามอนุปัสสนา 7 แยกกายในกองกรัชกายออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7" ​(อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ)'​ฯ+"​ส่วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า '​มีกายสังขารคือลมหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)'​ ก็เพียงเพื่อให้ปัญญา(ปชานาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านั้น เพียงเพื่ออบรมสติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น (อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย)"​ คือ เมื่อตามแยกสภาวะจนเหลือแต่ปรมัตถธรรมที่เกิดได้จริง โดยปัจจัย 4 โดยขณปัจจุบัน 1 ในแต่ละขันธ์ จนทำลายฆนสัญญาได้แล้ว ด้วยบทว่า "​สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา"​ เป็นต้น ก็จะเห็นเป็นเพียงสภาวะไม่มีสัตว์บุคคลที่บังคับบัญชาได้. เมื่อเห็นขณปัจจุบัน ก็เห็นคาหะ 3 ในอุปักกิเลส 10 ได้ จึงละคาหะ 3 นั้นในวิปัสสนาจารจิตที่เพิ่งดับไปได้ ปชานาติ ก็จะกลายเป็น ญาณํ. ​ คาหะ 3 ในสูตรนี้ ทรงตรัสขยายให้ละเอียดไว้ด้วยอำนาจอุปาทานและสมุทยสัจในสัจจบรรพะแล้ว แต่ในที่นี้ยังแสดงไว้โดยย่อ จึงตรัสว่า '​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มีอุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. (อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ)'​ฯ
  
 ===อิริยาปถบรรพ=== ===อิริยาปถบรรพ===