ฟุตโน้ต:152:19

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

ฟุตโน้ต:152:19 [2021/02/17 14:22]
dhamma ถูกสร้าง
ฟุตโน้ต:152:19 [2021/02/17 18:13] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-บทว่า เช่นเดียวกัน (ตถา) เป็นศัพท์ที่หมายถึงการแสดงด้วยรูแบบเดียวกันว่า "​ศีลเป็นต้นเป็นอันแสดงอธิศีลสิกขาเป็นต้นตามอธิบายมาแล้วอย่างไร,​ ศีลเป็นต้นก็เป็นอันแสดงอุปนิสัยแห่งความเป็นเตวิชโชเป็นตันอย่างนั้นเหมือนกัน"​. ผู้สวดควรทราบความเป็นอุปนิสัยให้ได้วิชชา 3 โดยการยังเหตุที่เป็นสภาคะกันให้ถึงพร้อมอย่างนี้ว่า "​ก็เพราะเมื่อศีลบริสุทธิ์อยู่ก็บริสุทธิ์ด้วยการไม่มีสังกิเลสและถึงความบริบูรณ์ด้วยพลังสติสัมปชัญญะและด้วยพลังกัมมัสสกตญาณ,​ ฉะนั้น เมื่อความถึงพร้อมแห่งศีล (ศีลสัมปทา) สำเร็จอยู่ก็ทำให้พลังสติและพลังญาณตั้งมั่นคงไปด้วย เพราะความถึงพร้อมแห่งอุปนิสัย (อุปนิสฺสยสมฺปตฺติ)"​. เป็นความจริงที่ว่า ความสำเร็จแห่งบุพเพนิวาสวิชชา (ความรู้ระลึกชาติได้มาก) มีด้วยการฉลาดบริหารการระลึก (สติ),​ ความสำเร็จแห่งวิชชาที่ 2 มีด้วยการรู้โดยประการต่างๆ จนสมบูรณ์พร้อม (สัมปชัญญะ) เพราะตามทำจุตูปปาตญาณด้วยการสั่งสมความเห็นดีงามที่เคยทำไว้แล้วในกิจทั้งหลายทั้งปวง.+บทว่า เช่นเดียวกัน (ตถา) เป็นศัพท์ที่หมายถึงน้อมอาการที่แสดงปว่า "​ศีลเป็นต้นเป็นอันแสดงอธิศีลสิกขาเป็นต้นตามอธิบายมาแล้วอย่างไร,​ ศีลเป็นต้นก็เป็นอันแสดงอุปนิสัยแห่งความเป็นเตวิชโชเป็นตันอย่างนั้นเหมือนกัน"​. ผู้สวดควรทราบความเป็นอุปนิสัยให้ได้วิชชา 3 โดยการยังเหตุที่เป็นสภาคะกันให้ถึงพร้อมอย่างนี้ว่า "​ก็เพราะเมื่อศีลบริสุทธิ์อยู่ก็บริสุทธิ์ด้วยการไม่มีสังกิเลสและถึงความบริบูรณ์ด้วยพลังสติสัมปชัญญะและด้วยพลังกัมมัสสกตญาณ,​ ฉะนั้น เมื่อความถึงพร้อมแห่งศีล (ศีลสัมปทา) สำเร็จอยู่ก็ทำให้พลังสติและพลังญาณตั้งมั่นคงไปด้วย เพราะความถึงพร้อมแห่งอุปนิสัย (อุปนิสฺสยสมฺปตฺติ)"​. เป็นความจริงที่ว่า ความสำเร็จแห่งบุพเพนิวาสวิชชา (ความรู้ระลึกชาติได้มาก) มีด้วยการฉลาดบริหารการระลึก (สติ),​ ความสำเร็จแห่งวิชชาที่ 2 มีด้วยการรู้โดยประการต่างๆ จนสมบูรณ์พร้อม (สัมปชัญญะ) เพราะตามทำจุตูปปาตญาณด้วยการสั่งสมความเห็นดีงามที่เคยทำไว้แล้วในกิจทั้งหลายทั้งปวง.
  
 ตถาติ ยถา สีลาทโย อธิสีลสิกฺขาทีนํ ปกาสกา,​ ตถา เตวิชฺชตาทีนํ อุปนิสฺสยสฺสาติ เตสํ ปกาสนาการูปสํหารตฺโถ ตถา-สทฺโทฯ ยสฺมา สีลํ วิสุชฺฌมานํ สติสมฺปชญฺญพเลน,​ กมฺมสฺสกตญาณพเลน จ สํกิเลสมลโต วิสุชฺฌติ ปาริปูริญฺจ คจฺฉติ,​ ตสฺมา สีลสมฺปทา สิชฺฌมานา อุปนิสฺสยสมฺปตฺติภาเวน สติพลํ,​ ญาณพลญฺจ ปจฺจุปฏฺฐเปตีติ ตสฺสา วิชฺชตฺตยูปนิสฺสยตา เวทิตพฺพา สภาคเหตุสมฺปาทนโตฯ สติเนปกฺเกน หิ ปุพฺเพนิวาสวิชฺชาสิทฺธิ,​ สมฺปชญฺเญน สพฺพกิจฺเจสุ สุทิฏฺฐการิตาปริจเยน จุตูปปาตญาณานุพนฺธาย ทุติยวิชฺชาสิทฺธิ,​ วีติกฺกมาภาเวน สํกิเลสปฺปหานสพฺภาวโต วิวฏฺฏูปนิสฺสยตาวเสน อชฺฌาสยสุทฺธิยา ตติยวิชฺชาสิทฺธิฯ ปุเรตรํ สิทฺธานํ สมาธิปญฺญานํ ปาริปูริํ วินา สีลสฺส อาสวกฺขยญาณูปนิสฺสยตา สุกฺขวิปสฺสกขีณาสเวหิ ทีเปตพฺพาฯ สมาธิปญฺญา วิย อภิญฺญาปฏิสมฺภิทานํ สีลํ น สภาคเหตูติ กตฺวา วุตฺตํ ‘‘น ตโต ปร’’นฺติฯ ‘‘สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาตี’’ติ (สํ. นิ. 3.5; 4.99; เนตฺติ. 40; มิ. ป. 2.1.14) วจนโต สมาธิสมฺปทา ฉฬภิญฺญตาย อุปนิสฺสโยฯ ปญฺญา วิย ปฏิสมฺภิทานํ สมาธิ น สภาคเหตูติ วุตฺตํ ‘‘น ตโต ปร’’นฺติฯ ตถาติ ยถา สีลาทโย อธิสีลสิกฺขาทีนํ ปกาสกา,​ ตถา เตวิชฺชตาทีนํ อุปนิสฺสยสฺสาติ เตสํ ปกาสนาการูปสํหารตฺโถ ตถา-สทฺโทฯ ยสฺมา สีลํ วิสุชฺฌมานํ สติสมฺปชญฺญพเลน,​ กมฺมสฺสกตญาณพเลน จ สํกิเลสมลโต วิสุชฺฌติ ปาริปูริญฺจ คจฺฉติ,​ ตสฺมา สีลสมฺปทา สิชฺฌมานา อุปนิสฺสยสมฺปตฺติภาเวน สติพลํ,​ ญาณพลญฺจ ปจฺจุปฏฺฐเปตีติ ตสฺสา วิชฺชตฺตยูปนิสฺสยตา เวทิตพฺพา สภาคเหตุสมฺปาทนโตฯ สติเนปกฺเกน หิ ปุพฺเพนิวาสวิชฺชาสิทฺธิ,​ สมฺปชญฺเญน สพฺพกิจฺเจสุ สุทิฏฺฐการิตาปริจเยน จุตูปปาตญาณานุพนฺธาย ทุติยวิชฺชาสิทฺธิ,​ วีติกฺกมาภาเวน สํกิเลสปฺปหานสพฺภาวโต วิวฏฺฏูปนิสฺสยตาวเสน อชฺฌาสยสุทฺธิยา ตติยวิชฺชาสิทฺธิฯ ปุเรตรํ สิทฺธานํ สมาธิปญฺญานํ ปาริปูริํ วินา สีลสฺส อาสวกฺขยญาณูปนิสฺสยตา สุกฺขวิปสฺสกขีณาสเวหิ ทีเปตพฺพาฯ สมาธิปญฺญา วิย อภิญฺญาปฏิสมฺภิทานํ สีลํ น สภาคเหตูติ กตฺวา วุตฺตํ ‘‘น ตโต ปร’’นฺติฯ ‘‘สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาตี’’ติ (สํ. นิ. 3.5; 4.99; เนตฺติ. 40; มิ. ป. 2.1.14) วจนโต สมาธิสมฺปทา ฉฬภิญฺญตาย อุปนิสฺสโยฯ ปญฺญา วิย ปฏิสมฺภิทานํ สมาธิ น สภาคเหตูติ วุตฺตํ ‘‘น ตโต ปร’’นฺติฯ