ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2023/07/15 04:38]
dhamma [สังวรวาจา]
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2023/07/17 06:55] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma [คิดนึกเป็นวิปัสสนาหรือไม่]
บรรทัด 68: บรรทัด 68:
 ==กาลามสูตรที่ถูกปฏิบัติแล้วได้เมตตาฌานแบบสีมสัมเภทะ== ==กาลามสูตรที่ถูกปฏิบัติแล้วได้เมตตาฌานแบบสีมสัมเภทะ==
 ==สนทนาต้องไม่เกิดวิปปฏิสาร== ==สนทนาต้องไม่เกิดวิปปฏิสาร==
-[[ดูข้อวิปปฏิสาร]]+ดูข้อ[[#วิปปฏิสาร]]
 =ลูกศิษย์= =ลูกศิษย์=
 ==สังวรวาจา== ==สังวรวาจา==
บรรทัด 112: บรรทัด 112:
 =ภาวนา= =ภาวนา=
 ==สีล== ==สีล==
 +โอวาท[[sutta>​ปาติโมกฺขํ(th.r.7.42.0.1)]] > สามัญญผลสูตร (ซึ่งถูกตกเลขไว้ในวรรคแรกของโกสลสังยุต) ซึ่งอธิบายโดยพระอานนท์ด้วย ที.สี. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] > ซึ่งต้องแทงตลอดพรหมชาลสูตรก่อน จึงจะบริสุทธิ์ ไม่งั้นจะกลายเป็น ​ ที.ม. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=10&​siri=2|มหานิทานสูตร]] > ซึ่งการละคลายทิฏฐิตามสองสูตรนั้น เริ่มด้วยญาณปัญจกนิทเทส ตามลำดับ ดูลิงก์อธิบายหัวข้อ [[#​ปรมัตถ์]] >  5 ญาณนี้ มาสิ้นสุดที่ [[sutta>​ธมฺมนานตฺตญาณ(th.r.45.82.0.2)]] ซึ่งก็คือ [[sutta>​เจตนากรณียสุตฺตํ(th.r.26.3.0.1)]] > ซึ่งสูตรย่อๆ ของทุกแห่งข้างต้นก็มีลำดับตาม ที.สี. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] ที่ขยายเป็นลำดับสมถะกรรมฐาน ตาม ม.อุ. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]] และวิปัสสนากรรมฐาน ที.ม.มหาสติปัฏฐานสูตรว่า [[sutta>​สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี(th.r.7.232)]] นั่นเอง.
 ===วิปปฏิสาร=== ===วิปปฏิสาร===
 +(ตัวอย่าง สนธิอนุสนธิของสูตรติดๆกัน ในสังยุตตนิกาย,​ สนธิอนุสนธิของการให้กรรมฐาน)
 +
 +วจีทุจจริต คือ จิตตุปบาทที่ยึดมั่นผิดบ่อยๆ จากที่เกิดดับจริงๆ ที่ล่วงออกมาทางวาจา
 +
 +วิปปฏิสาร คือ วจีทุจจริตนั่นแหละที่เกิดสลับกับโทสธรรมและโมหะธรรม คือ อุทธัจจะกุกกุจจะ เดือดร้อนใจในวจีสุจจริตที่ไม่ได้ทำไว้ และวจีทุจจริตที่ทำไว้ (สูตรที่ 2 ที่ขยายเป็นสูตรที่ 8 และสูตรอื่นๆ ในวรรค [การให้สูตรกรรมฐานอยู่ที่ว่า ผู้รับกรรมฐานกำลังมนสิการอะไรมาก และรับกรรมฐานอะไรมาก่อน])
 +
 +[[sutta>​ตจสารํ,​วิปฺปฏิปชฺชนฺติ,​อติสารํ(th.r.12.73.5.1)
 +]] โดยให้ท่องจำอย่างน้อยตั้งแต่สูตรที่ 1 ถึง 7 ของวรรคแรกของ ​
 +[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/?​index_mcu15#​SecA_1_2|โกสลสังยุต]]
 +
 +ขนฺธวคฺค,​ปาฬิ 98 ปณฺเณ [[sutta>​วิปฺปฏิสาโร(th.r.14.98)]]
 +
 +ซึ่งจากสูตรทั้งหลายใน[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/?​index_mcu15#​SecA_1_2|โกสลสังยุต]]นี้ จะเห็นว่า ไม่ว่าผู้แนะนำจะมีจิตอย่างไรก็ตาม,​ ผู้รับฟังก็ต้องรักษากุศลจิตในขณะฟังให้ได้ เพราะวิปปฏิสารไม่ได้เกิดจากผู้แนะนำ แต่เป็นธรรมในภายในที่ผู้ฟังปล่อยให้เกิดขึ้นในตนเอง. ไม่งั้น เกิดผู้แนะนำเป็นพระอริยะเจ้า แล้วผู้ฟังคุมจิตไม่ได้ เกิดวิปปฏิสารพ่นวาจาเถียงกลับ เพราะยึดมั่นถือมั่นตรงกันข้ามกับพระอริยเจ้า ผู้ฟังก็ได้อริยุปวาทะเป็นอานิสงส์ ขุดหลุมฝังตนเอง ดุจขุยไผ่ทำร้ายไผ่.
 +
 +
 +
 +
 ==สมถะ== ==สมถะ==
 ==วิปัสสนา== ==วิปัสสนา==
บรรทัด 147: บรรทัด 165:
 แต่ถ้าผู้แสดงธรรมชำนาญขึ้นไปอีก จะสามารถใช้วิชชา 8 ตรวจอัธยาศัยของผู้ฟังแล้ว ใช้พระไตรปิฎกบาลีที่ร่ำเรียนมา เลือกถ้อยคำที่เหมาะสมมาจัดลำดับใหม่ให้เหมาะกับผู้ฟังด้วยติปุกฺขลนัย อย่างนี้เราจะเห็นการเปลี่ยนลำดับของเทศนาได้. แต่ถ้าผู้แสดงธรรมชำนาญขึ้นไปอีก จะสามารถใช้วิชชา 8 ตรวจอัธยาศัยของผู้ฟังแล้ว ใช้พระไตรปิฎกบาลีที่ร่ำเรียนมา เลือกถ้อยคำที่เหมาะสมมาจัดลำดับใหม่ให้เหมาะกับผู้ฟังด้วยติปุกฺขลนัย อย่างนี้เราจะเห็นการเปลี่ยนลำดับของเทศนาได้.
  
-6. โดยการแทงตลอดข้างต้น ก็สามารถแทงตลอดตำราอื่นๆ ไปอีกนับไม่ถ้วนนัยยะ เช่น [[https://​docs.google.com/​document/​d/​1SgDMW-Wn1L_y4P-hjfrfeKg2xrOyrXY4rMgROkUJNkk/​edit#​|อรรถกถาอายุพระศาสนาเกินกว่า 4 ตำรา]] ที่เคยทำบทว่า ​ เอเตเนว อุปาเยน ใน อ.องฺ.เอกก. ตกหล่นไป ก็จะเริ่มเห็นได้ตรงกับลำดับสภาวะ,​ หรือ ในการสนธิของบทว่า "​เอตฺตาวตา อานาปานํ ฯลฯ สจฺจปริคฺคโหติ เอกวีสติ กมฺมฏฺฐานานิ วุตฺตานิฯ เตสุ อานาปานํ ทฺวตฺติํสากาโร นวสิวถิกาติ เอกาทส อปฺปนากมฺมฏฺฐานานิ โหนฺติฯ ทีฆภาณกมหาสีวตฺเถโร ปน ‘‘นวสิวถิกา อาทีนวานุปสฺสนาวเสน วุตฺตา’’ติ อาหฯ ตสฺมา ตสฺส มเตน ทฺเวเยว อปฺปนากมฺมฏฺฐานานิ,​ [[sutta>​เสสานิ อุปจารกมฺมฏฺฐานานิ(th.r.70.305)]]ฯ"​ ก็จะเข้าใจสภาวะของทั้ง 2 มติว่าไม่ขัดแย้งกัน เป็นสภาคฆฏนาของกันและกัน (ท่านพระพุทธโฆสาจารย์ยกมาไว้เพราะเห็นด้วยกับทั้ง 2 มติที่เป็นสภาคฆฏนากันได้ จึงไม่ได้แสดงคัดค้านไว้) ซึ่งสามารถใช้ละคลายเจโตขีละคือความระแวงสงสัยในพระมหาอัฏฐกถาหรือมหาสิวะเถระได้อีกทอดหนึ่งด้วย โดยการกำหนดจิตของผู้อ่านเองว่า "​เราไม่มีอธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8 ทั้งยังไม่ทรงจำพระไตรปิฎกบาลีอีกด้วย"​ อย่างนี้แทน จิตก็เป็นญาณสัมปยุตได้แล้ว วิปปฏิสารก็ไม่เกิด เป็นไปเพื่อภาวนา,​ และยังนำไปเชื่อมโยงกับเนตติ. เทสนาหาระวิภังค์ สีหวิกกีฬิตนัย,​ ที.สามัญญผลสูตร,​ ที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] (และหลายสูตรใน ที.สี.),​ ม.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]] ซึ่งอรรถกถาของสูตรนี้ไปอยู่ใน อ.ทีฆนิกาย อ.มูลปัณณาสก์ และวิสุทธิมรรค ทำให้เป็นเหมือนกับว่า มีอรรถกถาสั้น,​ เนตติใน [[https://​84000.org/​tipitaka/​atthapali/​read_th.php?​B=7&​A=6135&​h=สมถยานิก|อ. อุทฺเทสแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร]],​ วิสุทฺธิ. [[sutta>​จิตฺตวิสุทฺธิ นาม สอุปจารา อฏฺฐ สมาปตฺติโย(th.r.151.222.0.4)]] และอรรถกถาทั้งปวงโดยคำเดียวกันนี้ เป็นต้น โดยประการอย่างนี้ ก็ถึงความแตกฉานในพระไตรปิฎกปาฬิ อรรถกถาปาฬิ ได้โดยเพียงแค่ "​เข้าฌาน ออกจากฌานมาท่องทบทวนปาฬิ ในสำนักของผู้ทรงจำพระสูตรปาฬิ"​ ไม่เรียนพระไตรปิฎกด้วยความลำบากยากแค้นอีกต่อไป.+6. โดยการแทงตลอดข้างต้น ก็สามารถแทงตลอดตำราอื่นๆ ไปอีกนับไม่ถ้วนนัยยะ เช่น [[https://​docs.google.com/​document/​d/​1SgDMW-Wn1L_y4P-hjfrfeKg2xrOyrXY4rMgROkUJNkk/​edit#​|อรรถกถาอายุพระศาสนาเกินกว่า 4 ตำรา]] ที่เคยทำบทว่า ​ เอเตเนว อุปาเยน ใน อ.องฺ.เอกก. ตกหล่นไป ก็จะเริ่มเห็นได้ตรงกับลำดับสภาวะ,​ หรือ ในการสนธิของบทว่า "​เอตฺตาวตา อานาปานํ ฯลฯ สจฺจปริคฺคโหติ เอกวีสติ กมฺมฏฺฐานานิ วุตฺตานิฯ เตสุ อานาปานํ ทฺวตฺติํสากาโร นวสิวถิกาติ เอกาทส อปฺปนากมฺมฏฺฐานานิ โหนฺติฯ ทีฆภาณกมหาสีวตฺเถโร ปน ‘‘นวสิวถิกา อาทีนวานุปสฺสนาวเสน วุตฺตา’’ติ อาหฯ ตสฺมา ตสฺส มเตน ทฺเวเยว อปฺปนากมฺมฏฺฐานานิ,​ [[sutta>​เสสานิ อุปจารกมฺมฏฺฐานานิ(th.r.70.305)]]ฯ"​ ก็จะเข้าใจสภาวะของทั้ง 2 มติว่าไม่ขัดแย้งกัน เป็นสภาคฆฏนาของกันและกัน (ท่านพระพุทธโฆสาจารย์ยกมาไว้เพราะเห็นด้วยกับทั้ง 2 มติที่เป็นสภาคฆฏนากันได้ จึงไม่ได้แสดงคัดค้านไว้) ซึ่งสามารถใช้ละคลายเจโตขีละคือความระแวงสงสัยในพระมหาอัฏฐกถาหรือมหาสิวะเถระได้อีกทอดหนึ่งด้วย โดยการกำหนดจิตของผู้อ่านเองว่า "​เราไม่มีอธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8 ทั้งยังไม่ทรงจำพระไตรปิฎกบาลีอีกด้วย"​ อย่างนี้แทน จิตก็เป็นญาณสัมปยุตได้แล้ว ​[[#วิปปฏิสาร]]ก็ไม่เกิด เป็นไปเพื่อภาวนา,​ และยังนำไปเชื่อมโยงกับเนตติ. เทสนาหาระวิภังค์ สีหวิกกีฬิตนัย,​ ที.สามัญญผลสูตร,​ ที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] (และหลายสูตรใน ที.สี.),​ ม.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]] ซึ่งอรรถกถาของสูตรนี้ไปอยู่ใน อ.ทีฆนิกาย อ.มูลปัณณาสก์ และวิสุทธิมรรค ทำให้เป็นเหมือนกับว่า มีอรรถกถาสั้น,​ เนตติใน [[https://​84000.org/​tipitaka/​atthapali/​read_th.php?​B=7&​A=6135&​h=สมถยานิก|อ. อุทฺเทสแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร]],​ วิสุทฺธิ. [[sutta>​จิตฺตวิสุทฺธิ นาม สอุปจารา อฏฺฐ สมาปตฺติโย(th.r.151.222.0.4)]] และอรรถกถาทั้งปวงโดยคำเดียวกันนี้ เป็นต้น โดยประการอย่างนี้ ก็ถึงความแตกฉานในพระไตรปิฎกปาฬิ อรรถกถาปาฬิ ได้โดยเพียงแค่ "​เข้าฌาน ออกจากฌานมาท่องทบทวนปาฬิ ในสำนักของผู้ทรงจำพระสูตรปาฬิ"​ ไม่เรียนพระไตรปิฎกด้วยความลำบากยากแค้นอีกต่อไป. 
 + 
 +===คิดนึกเป็นวิปัสสนาหรือไม่=== 
 + 
 +* วิถีจิตรู้บัญญัติและปรมัตถ์ที่เกิดสลับกันจนกว่าจะถึงอุปจารสมาธิ 
 +* ปัญญาแทงตลอดสภาวะเสมอ ไม่ว่าจิตจะรู้บัญญัติหรือปรมัตถ์ ด้วยบทว่า [[sutta>​ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา ปญฺญา(th.r.151.68)]] 
 +* ไม่ว่าจะเอากรชกาย หรือ ใบไม้ มาทำวิปัสสนา ก็ไม่ได้เอาบัญญัติมาทำวิปัสสนา เพราะท่านแสดงลำดับไว้ว่า [[sutta>​สตฺโต วา ปุคฺคโล วา นตฺถิ(th.r.68.315)]] 
 +* ความสับสนเรื่องภาวนา 
 +* ปุถุชนออกจากกามคุณ 5 ด้วยบัญญัติที่ไม่เนื่องด้วยกามเท่านั้น ด้วยบทว่า [[sutta>​น นิมิตฺตคฺคาหี(th.r.6.66.0.2)]] และ [[sutta>​วิวิจฺเจว กาเมหิ(th.r.6.66.0.2)]] 
 +* กามและอกุศลระงับด้วยบัญญัติ เป็นสมถะ ด้วยบทว่า [[sutta>​น นิมิตฺตคฺคาหี(th.r.6.66.0.2)]] และ [[sutta>​วิวิจฺเจว กาเมหิ(th.r.6.66.0.2)]] , และระงับด้วยปรมัตถ์ เป็นวิปัสสนา ด้วยบทว่า [ [[sutta>​สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี(th.r.7.232)]] ] 
 +* ความสับสนเรื่องกลาป สงฺคห ป. 6 กับ ป. 7  
 +* ความไม่ท่องจำบาลี เรื่องกลาป สงฺคห ป. 6 กับ ป. 7  
 +* สภาวธรรม เรื่องกลาป สงฺคห ป. 6 กับ ป. 7 
 =วิธีทำความเข้าใจสายพะอ็อคตอยะ= =วิธีทำความเข้าใจสายพะอ็อคตอยะ=