ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision Both sides next revision
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2022/02/04 03:13]
dhamma
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2022/02/04 05:06]
dhamma
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
 เพราะในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาสอนแยกนามรูปแบบอัทธากาล 3 ดังอธิบายข้างต้นแล้ว มาติกาข้อถัดไปจึงสอนวิธีเอาปัจจุบันอัทธากาล 3 มาแยกจนเป็นสันตติกาล 3 สมยกาล 3 และขณะกาล 3 อรรถกถาสัมมสนญาณมาติกาจึงแสดงว่า "​อทฺธาสนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ [[sutta>​สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ(th.r.104.12.0.43)]] อิธาธิปฺเปตํฯ"​ ในคำว่า สนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ คือ แยกอัทธาเป็นสันตติ แล้วแยกสันตติเป็นขณะ,​ ส่วนคำว่า สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ อิธาธิปฺเปตํ คือ ในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาแยกอัทธากาล 3 แล้ว ในสัมมสนญาณมาติกาจึงมาเอาปัจจุบันอัทธากาลนั้นมาแยกจนเป็นสันตติกาล เพื่อที่จะตามเห็นนามรูปขณะเกิดดับแบบปรมัตถ์ว่า "​เอตฺถ จ [[sutta>​ขณาทิกถาว(th.r.104.227.0.7)]] นิปฺปริยายา เสสา สปริยายาฯ"​. เพราะในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาสอนแยกนามรูปแบบอัทธากาล 3 ดังอธิบายข้างต้นแล้ว มาติกาข้อถัดไปจึงสอนวิธีเอาปัจจุบันอัทธากาล 3 มาแยกจนเป็นสันตติกาล 3 สมยกาล 3 และขณะกาล 3 อรรถกถาสัมมสนญาณมาติกาจึงแสดงว่า "​อทฺธาสนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ [[sutta>​สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ(th.r.104.12.0.43)]] อิธาธิปฺเปตํฯ"​ ในคำว่า สนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ คือ แยกอัทธาเป็นสันตติ แล้วแยกสันตติเป็นขณะ,​ ส่วนคำว่า สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ อิธาธิปฺเปตํ คือ ในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาแยกอัทธากาล 3 แล้ว ในสัมมสนญาณมาติกาจึงมาเอาปัจจุบันอัทธากาลนั้นมาแยกจนเป็นสันตติกาล เพื่อที่จะตามเห็นนามรูปขณะเกิดดับแบบปรมัตถ์ว่า "​เอตฺถ จ [[sutta>​ขณาทิกถาว(th.r.104.227.0.7)]] นิปฺปริยายา เสสา สปริยายาฯ"​.
  
-ในอรรถกถา ญาณปัญจกะ บทว่า [[sutta>​วตฺถุนานตฺเต(th.r.104.12.0.43)]] อธิบายสนธิอนุสนธิไว้ว่า การววัตถานนามรูป (ตั้งแต่ "​อตีตานาคต... ววตฺถาเน"​เป็นต้น ของสัมมสนญาณขึ้นไป) ไม่ได้กล่าวอธิบายไว้ในมาติกาญาณ 12 ท่านพระสารีบุตรจึงแสดงญาณปัญจกมาติกาต่อจากมาติกาของญาณ 12 แรก เพื่ออธิบายคำว่าววัตถานนั้น. ซึ่งใน[[sutta>​th.r.45.77.0.4.อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา|จริยานานตฺตญาณนิทฺเทโส]]ของญาณปัญจกนิทเทสนี้เอง แสดงการกำหนดวิถีจิตทีละดวงไว้ตั้งแต่ "​[[sutta>​th.r.45.77.0.4.อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา|อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา]]"​ เป็นต้นไป. ฉะนั้น เมื่อในสัมมสนญาณอุทเทสจึงดึงเอาคำว่าอัทธาในธัมมัฏฐิติญาณนิทเทสนั้นมาเป็นอุทเทสของตนว่า "​อตีตานาคตปจฺจุปนฺนานํธมฺมานํ" ​เป็นต้น ​ แล้วอรรถกถาสัมมสนญาณนิทเทสจึงแสดงกาล 3 แบ่งจากหยาบไปละเอียดได้ 4 ว่า "​อดีตแบบอัทธา-สมยะ-สันตติิ-ขณะ,​ อนาคตแบบอัทธา-สมยะ-สันตติิ-ขณะ,​ และปัจจุบันแบบอัทธา-สมยะ-สันตติิ-ขณะ"'''​ ในที่นี้เองท่านจึงอธิบายคล้อยตามจริยานานัตตญาณว่า "​ในคำว่า รูปอดีตไม่เที่ยงเป็นต้นนี้ มุ่งหมายเอาอดีตขณะเป็นต้นเป็นหลัก ส่วนอดีตอัทธาสมยะสันตตินั้นมุ่งหมายเอาโดยอ้อม ​(เอตฺถ จ ขณาทิกถาว นิปฺปริยายา เสสา สปริยายาฯ)"'''​ หมายความว่า ค่อยๆ แบ่งซอยความไม่เที่ยงจากหยาบระดับปัจจุบันอัทธาไปจนกว่าจะละเอียดเป็นปัจจุบันขณะ แบบที่แสดงไว้ในวิสุทธิมรรค [[sutta>​อุปฺปาทกฺขเณ(th.r.151.249)|รูปอรูปสัตตกะและนามรูปนิพพัตติปัสสนาการะ]] และอรรถกถาสัมปชัญญบรรพะ.+ในอรรถกถา ญาณปัญจกะ บทว่า [[sutta>​วตฺถุนานตฺเต(th.r.104.12.0.43)]] อธิบายสนธิอนุสนธิไว้ว่า การววัตถานนามรูป (ตั้งแต่ "​อตีตานาคต... ววตฺถาเน"​เป็นต้น ของสัมมสนญาณขึ้นไป) ไม่ได้กล่าวอธิบายไว้ในมาติกาญาณ 12 ท่านพระสารีบุตรจึงแสดงญาณปัญจกมาติกาต่อจากมาติกาของญาณ 12 แรก เพื่ออธิบายคำว่าววัตถานนั้น. ซึ่งใน[[sutta>​th.r.45.77.0.4.อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา|จริยานานตฺตญาณนิทฺเทโส]]ของญาณปัญจกนิทเทสนี้เอง แสดงการกำหนดวิถีจิตทีละดวงไว้ตั้งแต่ "​[[sutta>​th.r.45.77.0.4.อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา|อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา]]"​ เป็นต้นไป. ฉะนั้น เมื่อในสัมมสนญาณ**อุทเทส**จึงดึงเอาคำว่าอัทธาในธัมมัฏฐิติญาณ**นิทเทส**นั้นมา แล้วแยกออกเอาเฉพาะปัจจุบันอัทธามาเป็นอุทเทสของตนว่า "ธมฺมมานํ"​ ในอรรถกถาของอุทเทสจึงกล่าวคำว่า "​[[sutta>​สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ อิธาธิปฺเปตํ(th.r.104.12.0.43)]]"​ และ เตสํ (สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนานํ) ​อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนานํ ​ปญฺจกฺขนฺธธมฺมานํ เป็นต้น ​เพราะการพิจารณาเป็นอัทธานั้นสำเร็จในธัมมัฏฐิติญาณไปแล้ว ​จึงนำอัทธาปัจจุบันมาแยกออกเป็นสันตติปัจจุบัน เพื่อที่จะเห็นขณปัจจุบันในอุทยัพพยานุปัสสนาญาณนั่นเอง. และเพราะเหตุนี้เองเช่นกัน ​อรรถกถาสัมมสนญาณนิทเทสจึงแสดงกาล 3 แบ่งจากหยาบไปละเอียดได้ 4 ว่า "​อดีตแบบอัทธา-สมยะ-สันตติิ-ขณะ,​ อนาคตแบบอัทธา-สมยะ-สันตติิ-ขณะ,​ และปัจจุบันแบบอัทธา-สมยะ-สันตติิ-ขณะ"''' ​ซึ่งในที่นี้เองท่านจึงอธิบายว่า "​ในคำว่า รูปอดีตไม่เที่ยงเป็นต้นนี้ มุ่งหมายเอาอดีตขณะเป็นต้นเป็นหลัก ส่วนอดีตอัทธาสมยะสันตตินั้นมุ่งหมายเอาโดยอ้อม ​[[sutta>เอตฺถ จ ขณาทิกถาว นิปฺปริยายา เสสา สปริยายาฯ(th.r.104.227.0.7)]]"'''​ หมายความว่า ค่อยๆ แบ่งซอยความไม่เที่ยงจากหยาบระดับปัจจุบันอัทธาไปจนกว่าจะละเอียดเป็นปัจจุบันขณะ แบบที่แสดงไว้ใน[[sutta>​จริยานานตฺตญาณนิทฺเทโส(th.r.45.77.0.4)]] ​วิสุทธิมรรค [[sutta>​อุปฺปาทกฺขเณ(th.r.151.249)|รูปอรูปสัตตกะและนามรูปนิพพัตติปัสสนาการะ]] และอรรถกถาสัมปชัญญบรรพะ ​เรื่อง[[sutta>​มูลปริญฺญา(th.r.70.258.0.17)]].
  
 การที่อรรถกถาทุกแห่ง แสดงการรู้วิถีจิตที่ละปรมัตถ์ขณะไว้ ก็สอดคล้องกับ ขุ.ปฏิ.ญาณปัญจกนิทเทสนี้ที่แสดงการววัตถานปรมัตถขณะของนามรูปไว้ว่า [[sutta>​th.r.45.77.0.4.อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา]] เป็นต้น และสอดคล้องกับอภิธัมมปิฎกด้วย. การที่อรรถกถาทุกแห่ง แสดงการรู้วิถีจิตที่ละปรมัตถ์ขณะไว้ ก็สอดคล้องกับ ขุ.ปฏิ.ญาณปัญจกนิทเทสนี้ที่แสดงการววัตถานปรมัตถขณะของนามรูปไว้ว่า [[sutta>​th.r.45.77.0.4.อาวชฺชนกิริยาพฺยากตา]] เป็นต้น และสอดคล้องกับอภิธัมมปิฎกด้วย.
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
 เมื่อท่านพระสารีบุตรสอนววัตถานเป็นการแยกนามรูปจนกว่าไตรลักษณ์จะชัดระดับขณะปรมัตถ์ไปแล้ว ผู้ปฏิบัติก็สามารถจะเห็นอุปาทอนุขณะและภังคอนุขณะของนามรูปได้ เพราะ[[sutta>​สงฺขตลกฺขณสุตฺต(th.r.19.52)]]และอภิ.ธ.อ.ติกมาติกา [[sutta>​อุปฺปนฺนตฺติเก(th.r.106.88)]] แสดงไว้สรุปว่า สังขตธรรมเท่านั้นมีอุปาทะและภังคะอนุขณะ,​ ฉะนั้น ผู้ฝึกแยกนามรูปจนเห็นปรมัตถ์ขณะที่มีสังขตลักษณะอย่างนี้ จึงจะเริ่มฝึกอุทยัพพยญาณได้ เพราะการฝึกอุทยัพพยญาณทุกตำราล้วนแสดงไว้สรุปว่า เป็นการเห็นอุปาทะอนุขณะและภังคอนุขณะของขันธ์ ตั้งแต่ขุ.ปฏิสัมภิทามรรคว่า [[sutta>​จิตฺตสฺส ภงฺคํ อนุปสฺสติ(th.r.45.55)]],​ ที.ม.มหาสติปัฏฐานสูตรว่า [[sutta>​สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี(th.r.7.232)]],​ ตำราของพระมหาเถระรุ่นก่อนๆทั้งหลาย เช่น พระพุทธโฆสเถระ-[[sutta>​ภงฺคกฺขเณ(th.r.151.265.0.4)]],​ พระมหานามเถระ-[[sutta>​ภงฺคกฺขเณ(th.r.151.265.0.4)]],​ พระพุทธทัตตะเถระ-[[sutta>​ยทุปฺปาทฏฺฐิติอาทีหิ ปสฺสโต(th.r.146.476)]], ​ วิสุทธิมรรคมหาฏีกา พระธัมมปาลเถระ (เป็นทั้งพระอรรถกถาจารย์และพระฏีกาจารย์)-สนฺตติวเสน หิ รูปารูปธมฺเม อุทยโต,​ วยโต จ มนสิ กโรนฺตสฺส อนุกฺกเมน ภาวนาย พลปฺปตฺตกาเล [[sutta>​ญาณสฺส ติกฺขวิสทภาวปฺปตฺติยา ขณโต(th.r.153.422)]] อุทยพฺพยา อุปฏฺฐหนฺตีติฯ อยญฺหิ ปฐมํ ปจฺจยโต อุทยพฺพยํ มนสิ กโรนฺโต อวิชฺชาทิเก ปจฺจยธมฺเม วิสฺสชฺเชตฺวา อุทยพฺพยวนฺเต ขนฺเธ คเหตฺวา เตสํ ปจฺจยโต อุทยพฺพยทสฺสนมุเขน ขณโตปิ อุทยพฺพยํ มนสิ กโรติฯ,​ พระอนุรุธาจารย์-[[sutta>​ขณวเสน(th.r.147.64)]],​ พระสุมังคลมหาสามี-[[sutta>​อตีตาทิขณวเสน(th.r.147.270)]],​ พระอุปติสสเถระ (วิมุตติมรรค) เป็นต้น ดังได้ยกหลักฐานมาข้างต้น. เมื่อท่านพระสารีบุตรสอนววัตถานเป็นการแยกนามรูปจนกว่าไตรลักษณ์จะชัดระดับขณะปรมัตถ์ไปแล้ว ผู้ปฏิบัติก็สามารถจะเห็นอุปาทอนุขณะและภังคอนุขณะของนามรูปได้ เพราะ[[sutta>​สงฺขตลกฺขณสุตฺต(th.r.19.52)]]และอภิ.ธ.อ.ติกมาติกา [[sutta>​อุปฺปนฺนตฺติเก(th.r.106.88)]] แสดงไว้สรุปว่า สังขตธรรมเท่านั้นมีอุปาทะและภังคะอนุขณะ,​ ฉะนั้น ผู้ฝึกแยกนามรูปจนเห็นปรมัตถ์ขณะที่มีสังขตลักษณะอย่างนี้ จึงจะเริ่มฝึกอุทยัพพยญาณได้ เพราะการฝึกอุทยัพพยญาณทุกตำราล้วนแสดงไว้สรุปว่า เป็นการเห็นอุปาทะอนุขณะและภังคอนุขณะของขันธ์ ตั้งแต่ขุ.ปฏิสัมภิทามรรคว่า [[sutta>​จิตฺตสฺส ภงฺคํ อนุปสฺสติ(th.r.45.55)]],​ ที.ม.มหาสติปัฏฐานสูตรว่า [[sutta>​สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี(th.r.7.232)]],​ ตำราของพระมหาเถระรุ่นก่อนๆทั้งหลาย เช่น พระพุทธโฆสเถระ-[[sutta>​ภงฺคกฺขเณ(th.r.151.265.0.4)]],​ พระมหานามเถระ-[[sutta>​ภงฺคกฺขเณ(th.r.151.265.0.4)]],​ พระพุทธทัตตะเถระ-[[sutta>​ยทุปฺปาทฏฺฐิติอาทีหิ ปสฺสโต(th.r.146.476)]], ​ วิสุทธิมรรคมหาฏีกา พระธัมมปาลเถระ (เป็นทั้งพระอรรถกถาจารย์และพระฏีกาจารย์)-สนฺตติวเสน หิ รูปารูปธมฺเม อุทยโต,​ วยโต จ มนสิ กโรนฺตสฺส อนุกฺกเมน ภาวนาย พลปฺปตฺตกาเล [[sutta>​ญาณสฺส ติกฺขวิสทภาวปฺปตฺติยา ขณโต(th.r.153.422)]] อุทยพฺพยา อุปฏฺฐหนฺตีติฯ อยญฺหิ ปฐมํ ปจฺจยโต อุทยพฺพยํ มนสิ กโรนฺโต อวิชฺชาทิเก ปจฺจยธมฺเม วิสฺสชฺเชตฺวา อุทยพฺพยวนฺเต ขนฺเธ คเหตฺวา เตสํ ปจฺจยโต อุทยพฺพยทสฺสนมุเขน ขณโตปิ อุทยพฺพยํ มนสิ กโรติฯ,​ พระอนุรุธาจารย์-[[sutta>​ขณวเสน(th.r.147.64)]],​ พระสุมังคลมหาสามี-[[sutta>​อตีตาทิขณวเสน(th.r.147.270)]],​ พระอุปติสสเถระ (วิมุตติมรรค) เป็นต้น ดังได้ยกหลักฐานมาข้างต้น.
  
-เมื่อท่องทบทวนบาลีปฏิสัมภิทามรรคจนเห็นสนธิอย่างนี้แล้ว ผู้ที่แคลงใจเรื่องกาล 3 นี้ จึงจะตัดสินใจได้ชัดเจนว่า อรรถกถาปฏิสัมภิทามรรคสมบูรณ์ดี ไม่ได้ขัดแย้งกัน.+ 
 + 
 +เมื่อท่องทบทวนบาลีปฏิสัมภิทามรรคจนเห็นสนธิอย่างนี้แล้ว ผู้ที่แคลงใจเรื่องกาล 3 แบบอัทธาสมยะสันตติและขณะนี้ จึงจะตัดสินใจได้ชัดเจนว่า อรรถกถาปฏิสัมภิทามรรคสมบูรณ์ดี ไม่ได้ขัดแย้งกัน.
  
 บางมติว่า "น [[sutta>​สาวกานํ(th.r.163.426)]]-สาวกไม่สามารถเห็นขณะปรมัตถ์ได้"​ คำนั้นข้าพเจ้าไม่พบหลักฐานจากตำราใดๆ ที่ตรงกันเลย. และเป็นมติที่ขัดแย้งกับพระบาลีจำนวนมาก เช่น ตามหลักวิถีจิตในอภิธรรมที่แม้แต่ปัญจทวารวิถีของเดรัจฉานก็สามารถรับรู้ขณะปรมัตถ์ได้ และ แม้อกุศลจิตก็รู้ขณะปรมัตถ์ได้ ([[sutta>​อกุสลานิ(th.r.147.21.1.0)]]...โลกุตฺตรวชฺชิตสพฺพารมฺมณานิ) ถ้าจิตแม้อกุศลยังรู้ขณะปรมัตถ์จะมีเหตุอะไรให้กุศลจิตรู้ขณะปรมัตถ์และญาณสัมปยุตจิตแทงตลอดขณะปรมัตถ์ไม่ได้เล่า,​ ถ้ามีความเห็นว่าไม่สามารถเห็นปรมัตถขณะได้ ก็เท่ากับทำอริยุปวาทในพระอริยเจ้าผู้ทรงจำพระบาลีสืบกันมาทั้งหลายว่า "​อภิธรรมที่เรียนสืบกันมาทั้งหมดเป็นแค่จินตนาการตามๆ กันมาเท่านั้น ไม่ได้เห็นของจริง"​ ซึ่งอริยุปวาทะเป็นเหตุให้เรียนพระบาลีไม่รู้เรื่องและบรรลุยาก,​ หรือ หลักฐานข้างต้นที่ข้าพเจ้าได้กล่าวมาก่อนนั้นทั้งหมด ก็ล้วนสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน. ความจริง ขณะปรมัตถ์มีอยู่แล้วและหมู่สัตว์ก็รู้จักอยู่แล้วก่อนพระพุทธเจ้าจะอุบัติในโลก แต่ไม่มีใครสามารถจะแยกนามรูปปรมัตถ์ขณะในทุกอย่างจนเหลือเพียงฆนวินิพโภคสัญญาอันเป็นปหานปริญญาได้แบบที่พระพุทธเจ้าทำได้เป็นพระองค์แรก จึงตรัสสอนสาวกให้รู้ตามได้ด้วย. ​ บางมติว่า "น [[sutta>​สาวกานํ(th.r.163.426)]]-สาวกไม่สามารถเห็นขณะปรมัตถ์ได้"​ คำนั้นข้าพเจ้าไม่พบหลักฐานจากตำราใดๆ ที่ตรงกันเลย. และเป็นมติที่ขัดแย้งกับพระบาลีจำนวนมาก เช่น ตามหลักวิถีจิตในอภิธรรมที่แม้แต่ปัญจทวารวิถีของเดรัจฉานก็สามารถรับรู้ขณะปรมัตถ์ได้ และ แม้อกุศลจิตก็รู้ขณะปรมัตถ์ได้ ([[sutta>​อกุสลานิ(th.r.147.21.1.0)]]...โลกุตฺตรวชฺชิตสพฺพารมฺมณานิ) ถ้าจิตแม้อกุศลยังรู้ขณะปรมัตถ์จะมีเหตุอะไรให้กุศลจิตรู้ขณะปรมัตถ์และญาณสัมปยุตจิตแทงตลอดขณะปรมัตถ์ไม่ได้เล่า,​ ถ้ามีความเห็นว่าไม่สามารถเห็นปรมัตถขณะได้ ก็เท่ากับทำอริยุปวาทในพระอริยเจ้าผู้ทรงจำพระบาลีสืบกันมาทั้งหลายว่า "​อภิธรรมที่เรียนสืบกันมาทั้งหมดเป็นแค่จินตนาการตามๆ กันมาเท่านั้น ไม่ได้เห็นของจริง"​ ซึ่งอริยุปวาทะเป็นเหตุให้เรียนพระบาลีไม่รู้เรื่องและบรรลุยาก,​ หรือ หลักฐานข้างต้นที่ข้าพเจ้าได้กล่าวมาก่อนนั้นทั้งหมด ก็ล้วนสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน. ความจริง ขณะปรมัตถ์มีอยู่แล้วและหมู่สัตว์ก็รู้จักอยู่แล้วก่อนพระพุทธเจ้าจะอุบัติในโลก แต่ไม่มีใครสามารถจะแยกนามรูปปรมัตถ์ขณะในทุกอย่างจนเหลือเพียงฆนวินิพโภคสัญญาอันเป็นปหานปริญญาได้แบบที่พระพุทธเจ้าทำได้เป็นพระองค์แรก จึงตรัสสอนสาวกให้รู้ตามได้ด้วย. ​