ปฏิสัมภิทามรรค_01-1_มหาวรรค

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
ปฏิสัมภิทามรรค_01-1_มหาวรรค [2020/06/27 22:24]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
ปฏิสัมภิทามรรค_01-1_มหาวรรค [2022/08/25 06:26] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma [มาติกา]
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>ปฏิสัมภิทามรรค ​head}}{{wst>ฏิัมภิทามรรค sidebar}}+{{template:ปฏิสัมภิทามรรค_head}}{{template:​ฉบับรับำนวน head|}}
  
 '''​พระสุตตันตปิฎก'''​ '''​พระสุตตันตปิฎก'''​
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
 # เมื่อสำรวมแล้ว ตั้งจิตมั่นอย่างเข้าใจ เป็นสมาธิภาวนามยญาณ [ปัญญาที่ชำนาญจากการทำสมาธิให้ต่อเนื่อง] 1 # เมื่อสำรวมแล้ว ตั้งจิตมั่นอย่างเข้าใจ เป็นสมาธิภาวนามยญาณ [ปัญญาที่ชำนาญจากการทำสมาธิให้ต่อเนื่อง] 1
 # เมื่อแยกปัจจัยอย่างเข้าใจ เป็นธรรมฐิติญาณ [ปัญญาที่ชำนาญ 3 อัทธาปฏิจจสมุปบาท] 1 # เมื่อแยกปัจจัยอย่างเข้าใจ เป็นธรรมฐิติญาณ [ปัญญาที่ชำนาญ 3 อัทธาปฏิจจสมุปบาท] 1
-# เมื่อย่อส่วน(สันตติ)อดีตอนาคตและปัจจุบันธรรม(ในปัจจุบันอัทธาธัมมฐิติ)ทั้งหลาย ปัญญาที่ตัดสิน(ปฏิจจสมุปบาททั้ง 3 สันตติปัจจุบันในอัทธาปัจจุบันนั้นว่าล้วนมีไตรลักษณ์) เป็นสัมมสนญาณ [ปัญญาที่ชำนาญทำสัมมาทัสสนะในญาณที่แล้ว] 1+# เมื่อย่อส่วน(สันตติ)อดีตอนาคตและปัจจุบันธรรม(ในปัจจุบันอัทธาธัมมฐิติ)ทั้งหลาย ปัญญาที่ตัดสิน(ปฏิจจสมุปบาททั้ง 3 สันตติปัจจุบันในอัทธาปัจจุบันนั้นว่าล้วนมีไตรลักษณ์) เป็นสัมมสนญาณ [ปัญญาที่ชำนาญทำสัมมาทัสสนะด้วยญาณที่แล้ว] 1
 # เมื่อหมั่นตามเห็นความแปรเปลี่ยนไปของ(ปฏิจจสมุปบาท)ธรรมส่วน(ขณะ)ปัจจุบันอย่างเข้าใจ เป็นอุทยัพพยานุปัสนาญาณ [ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม]1 # เมื่อหมั่นตามเห็นความแปรเปลี่ยนไปของ(ปฏิจจสมุปบาท)ธรรมส่วน(ขณะ)ปัจจุบันอย่างเข้าใจ เป็นอุทยัพพยานุปัสนาญาณ [ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม]1
 # เมื่อวิปัสสนาจิต(ขณปัจจุบัน)พิจารณาอารมณ์แล้ว หมั่นตามเห็นความดับ(ของวิปัสสนาจิตนั้น)อย่างเข้าใจ เป็นวิปัสนาญาณ[ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความดับของวิปัสสนาจิต] 1 # เมื่อวิปัสสนาจิต(ขณปัจจุบัน)พิจารณาอารมณ์แล้ว หมั่นตามเห็นความดับ(ของวิปัสสนาจิตนั้น)อย่างเข้าใจ เป็นวิปัสนาญาณ[ปัญญาที่ชำนาญในการหมั่นตามเห็นความดับของวิปัสสนาจิต] 1
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นอุปกิเลสนั้นๆ อันอริยมรรคนั้นๆตัดเสียแล้ว เป็นวิมุติญาณ 1 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นอุปกิเลสนั้นๆ อันอริยมรรคนั้นๆตัดเสียแล้ว เป็นวิมุติญาณ 1
 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุมในขณะนั้น เป็นปัจจเวกขณญาณ 1 # ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุมในขณะนั้น เป็นปัจจเวกขณญาณ 1
-# ปัญญาในการกำหนดธรรมภายใน เป็นวัตถุนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งวัตถุ] 1 + ​[อรรถกถาบอกว่า ตัวที่เป็นเริ่มต้นกำหนดวิปัสสนา คือ 5 ญาณด้านล่างนี้ ซึ่งเป็นการขยายธัมมัฏฐิติญาณหรือปัจจยปริคคหญาณนั่นเอง:​] 
-# ปัญญาในการกำหนดธรรมภายนอก เป็นโคจรนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งโคจร] 1 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรมภายใน เป็นวัตถุนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งวัตถุ] 1 
-# ปัญญาในการกำหนดจริยา เป็นจริยานานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งจริยา] 1 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรมภายนอก เป็นโคจรนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งโคจร] 1 
-# ปัญญาในการกำหนดธรรม 4 เป็นภูมินานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งภูมิ] 1 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดจริยา[แห่งวิญญาณ] ​เป็นจริยานานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งจริยา] 1 
-# ปัญญาในการกำหนดธรรม 9 เป็นธรรมนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งธรรม]1+# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรม 4 เป็นภูมินานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งภูมิ] 1 
 +# ปัญญาที่ชำนาญในการกำหนดธรรม 9 เป็นธรรมนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งธรรม]1
 # ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็นญาตัฏฐญาณ [ญาณในความว่ารู้] 1 # ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็นญาตัฏฐญาณ [ญาณในความว่ารู้] 1
 # ปัญญาเครื่องกำหนดรู้เป็นตีรณัฏฐญาณ [ญาณในความว่าพิจารณา] 1 # ปัญญาเครื่องกำหนดรู้เป็นตีรณัฏฐญาณ [ญาณในความว่าพิจารณา] 1
บรรทัด 94: บรรทัด 95:
 ______ ______
  
-===นิทเทส'''​== +===นิทเทส=== 
-====สุตมยญาณนิทเทส'''​===+====สุตมยญาณนิทเทส====
  
 [1] การฟังจำธรรมะด้วยปัญญา เป็นสุตมยญาณอย่างไร [1] การฟังจำธรรมะด้วยปัญญา เป็นสุตมยญาณอย่างไร
-=====มาติกาของสุตมยญาณนิทเทส'''​====+=====มาติกาของสุตมยญาณนิทเทส=====
 #'''​[เญยยธรรม 5]'''​ #'''​[เญยยธรรม 5]'''​
 ##"​พวกนี้ควรถูกทำญาตปริญญา (อภิญเญยยะ)"​ เมื่อฟังจำและเข้าใจแง่มุมต่างๆ อย่างนี้เป็นปัญญาที่ชำนาญจากการฟัง (สุตมยญาณ)ฯ ​ ##"​พวกนี้ควรถูกทำญาตปริญญา (อภิญเญยยะ)"​ เมื่อฟังจำและเข้าใจแง่มุมต่างๆ อย่างนี้เป็นปัญญาที่ชำนาญจากการฟัง (สุตมยญาณ)ฯ ​
บรรทัด 124: บรรทัด 125:
 #​แปลอภิญญาตเป็นญาต ปริญญาเป็นตีรณะ จากปัญจกญาณนิทเทสเล่มเดียวกันนี้,​ เติมปริญญาเป็นญาตปริญญา ตีรณปริญญา จากปริญญา 3 ในมหานิทเทสของผู้แต่งเดียวกัน คือ พระสารีบุตร. อรรถกถาก็ให้แปลอย่างนี้เช่นกัน. #​แปลอภิญญาตเป็นญาต ปริญญาเป็นตีรณะ จากปัญจกญาณนิทเทสเล่มเดียวกันนี้,​ เติมปริญญาเป็นญาตปริญญา ตีรณปริญญา จากปริญญา 3 ในมหานิทเทสของผู้แต่งเดียวกัน คือ พระสารีบุตร. อรรถกถาก็ให้แปลอย่างนี้เช่นกัน.
 #​คำว่า อริยสัจ ในที่นี้จำเป็นต้องแปลให้ครบ พร้อมทั้งวงเล็บ เพราะปฏิสัมภิทามรรคเป็นตำราอ้างอิง ถ้าไม่แปลให้ครบ ก็หาที่อธิบายที่อื่นไม่ได้แล้ว. ส่วนการแปล "​สัจจะ" ​ และ "​อริยะ"​ เป็นต้น เพราะพระอนาคามิพรหมบอกสัจจะ คือ พระเวทไว้กะฤๅษีชาวอริยะ แต่ไม่มีใครทำความเข้าใจจนบรรลุได้ จนกระทั่งพระพุทธเจ้าผู้มีอาการ 32 ตรงกับพระเวทมาตรัสบอกอริยสัจที่แท้จริงนี้. ผมแสดงกรรมวิธีไว้ใน[[ปฏิสัมภิทามรรค_ยุคนัทธวรรค_1#​คำอธิบายบาลีจากผู้แปล|ปฏิสัมภิทกถา]]แล้ว ขอให้ตามดูเพื่อความเข้าใจอย่างละเอียด. #​คำว่า อริยสัจ ในที่นี้จำเป็นต้องแปลให้ครบ พร้อมทั้งวงเล็บ เพราะปฏิสัมภิทามรรคเป็นตำราอ้างอิง ถ้าไม่แปลให้ครบ ก็หาที่อธิบายที่อื่นไม่ได้แล้ว. ส่วนการแปล "​สัจจะ" ​ และ "​อริยะ"​ เป็นต้น เพราะพระอนาคามิพรหมบอกสัจจะ คือ พระเวทไว้กะฤๅษีชาวอริยะ แต่ไม่มีใครทำความเข้าใจจนบรรลุได้ จนกระทั่งพระพุทธเจ้าผู้มีอาการ 32 ตรงกับพระเวทมาตรัสบอกอริยสัจที่แท้จริงนี้. ผมแสดงกรรมวิธีไว้ใน[[ปฏิสัมภิทามรรค_ยุคนัทธวรรค_1#​คำอธิบายบาลีจากผู้แปล|ปฏิสัมภิทกถา]]แล้ว ขอให้ตามดูเพื่อความเข้าใจอย่างละเอียด.
-=====นิทเทสสำหรับมาติกาของสุตมยญาณนิทเทส'''​==== +=====นิทเทสสำหรับมาติกาของสุตมยญาณนิทเทส===== 
-======อภิญเญยยกิจจนิทเทส'''​=====+======อภิญเญยยกิจจนิทเทส======
 [2] ปัญญาอันเป็นเครื่องทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว คือ เป็นเครื่องรู้ชัดซึ่งธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรรู้ยิ่ง เป็นสุตมยญาณอย่างไรธรรมอย่างหนึ่งควรรู้ยิ่ง คือ สัตว์ทั้งปวงดำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร ธรรม 2 ควรรู้ยิ่งคือ ธาตุ 2 ธรรม 3 ควรรู้ยิ่ง คือ ธาตุ 3 ธรรม 4 ควรรู้ยิ่ง คือ อริยสัจ 4ธรรม 5 ควรรู้ยิ่ง คือ วิมุตตายตนะ 5 ธรรม 6 ควรรู้ยิ่งคืออนุตตริยะ 6ธรรม 7 ควรรู้ยิ่ง คือ นิททสวัตถุ [เหตุที่พระขีณาสพนิพพานแล้วไม่ปฏิสนธิอีกต่อไป] 7 ธรรม 8 ควรรู้ยิ่ง คือ อภิภายตนะ [อารมณ์แห่งญาณอันฌายีบุคคลครอบงำไว้] 8ธรรม 9 ควรรู้ยิ่ง คือ อนุปุพพวิหาร 9 ธรรม 10ควรรู้ยิ่ง คือนิชชรวัตถุ [เหตุกำจัดมิจฉาทิฐิเป็นต้น] 10 ฯ [2] ปัญญาอันเป็นเครื่องทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว คือ เป็นเครื่องรู้ชัดซึ่งธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรรู้ยิ่ง เป็นสุตมยญาณอย่างไรธรรมอย่างหนึ่งควรรู้ยิ่ง คือ สัตว์ทั้งปวงดำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร ธรรม 2 ควรรู้ยิ่งคือ ธาตุ 2 ธรรม 3 ควรรู้ยิ่ง คือ ธาตุ 3 ธรรม 4 ควรรู้ยิ่ง คือ อริยสัจ 4ธรรม 5 ควรรู้ยิ่ง คือ วิมุตตายตนะ 5 ธรรม 6 ควรรู้ยิ่งคืออนุตตริยะ 6ธรรม 7 ควรรู้ยิ่ง คือ นิททสวัตถุ [เหตุที่พระขีณาสพนิพพานแล้วไม่ปฏิสนธิอีกต่อไป] 7 ธรรม 8 ควรรู้ยิ่ง คือ อภิภายตนะ [อารมณ์แห่งญาณอันฌายีบุคคลครอบงำไว้] 8ธรรม 9 ควรรู้ยิ่ง คือ อนุปุพพวิหาร 9 ธรรม 10ควรรู้ยิ่ง คือนิชชรวัตถุ [เหตุกำจัดมิจฉาทิฐิเป็นต้น] 10 ฯ
  
บรรทัด 238: บรรทัด 239:
 ''​จบทุติยภาณวาร ฯ''​ ''​จบทุติยภาณวาร ฯ''​
  
-======ปริญเญยยกิจจนิทเทส'''​=====+======ปริญเญยยกิจจนิทเทส======
  
 [56] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมา คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าธรรมเหล่านี้ควรกำหนดรู้ เป็นสุตมยญาณอย่างไร ฯ [56] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมา คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าธรรมเหล่านี้ควรกำหนดรู้ เป็นสุตมยญาณอย่างไร ฯ
บรรทัด 262: บรรทัด 263:
 [63] บุคคลผู้พยายามเพื่อต้องการจะได้โสดาปัตติมรรค เป็นอันได้โสดาปัตติมรรคแล้ว ธรรมนั้น เป็นธรรมอันบุคคลนั้นกำหนดรู้แล้วและพิจารณาแล้วอย่างนี้ บุคคลผู้พยายามเพื่อต้องการจะได้สกทาคามิมรรค ... อนาคามิมรรค... อรหัตมรรค เป็นอันได้อรหัตมรรคแล้ว ธรรมนั้นเป็นธรรมอันบุคคลนั้นกำหนดรู้แล้วและพิจารณาแล้วอย่างนี้ บุคคลผู้พยายามเพื่อต้องการจะได้ธรรมใดๆเป็นอันได้ธรรมนั้นๆ แล้ว ธรรมเหล่านั้น เป็นธรรมอันบุคคลนั้นกำหนดรู้แล้วและพิจารณาแล้วอย่างนี้ ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญาเพราะอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าธรรมเหล่านี้ควรกำหนดรู้ ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ [63] บุคคลผู้พยายามเพื่อต้องการจะได้โสดาปัตติมรรค เป็นอันได้โสดาปัตติมรรคแล้ว ธรรมนั้น เป็นธรรมอันบุคคลนั้นกำหนดรู้แล้วและพิจารณาแล้วอย่างนี้ บุคคลผู้พยายามเพื่อต้องการจะได้สกทาคามิมรรค ... อนาคามิมรรค... อรหัตมรรค เป็นอันได้อรหัตมรรคแล้ว ธรรมนั้นเป็นธรรมอันบุคคลนั้นกำหนดรู้แล้วและพิจารณาแล้วอย่างนี้ บุคคลผู้พยายามเพื่อต้องการจะได้ธรรมใดๆเป็นอันได้ธรรมนั้นๆ แล้ว ธรรมเหล่านั้น เป็นธรรมอันบุคคลนั้นกำหนดรู้แล้วและพิจารณาแล้วอย่างนี้ ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญาเพราะอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าธรรมเหล่านี้ควรกำหนดรู้ ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
  
-======ปหาตัพพกิจจนิทเทส'''​=====+======ปหาตัพพกิจจนิทเทส======
  
 [64] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรละ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ [64] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรละ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ
บรรทัด 284: บรรทัด 285:
 ''​จบตติยภาณวาร ฯ''​ ''​จบตติยภาณวาร ฯ''​
  
-======ภาเวตัพพกิจจนิทเทส'''​=====+======ภาเวตัพพกิจจนิทเทส======
  
 [67] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรเจริญ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร [67] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรเจริญ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร
บรรทัด 330: บรรทัด 331:
 ''​จบจตุตถภาณวาร''​ ''​จบจตุตถภาณวาร''​
  
-======สัจฉิกาตัพพนิทเทส'''​=====+======สัจฉิกาตัพพนิทเทส======
  
 [77] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดซึ่งธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรทำให้แจ้ง ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ [77] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดซึ่งธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรทำให้แจ้ง ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ
บรรทัด 342: บรรทัด 343:
 ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้นๆ ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถรู้ว่าชัด ​ เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือเครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรทำให้แจ้ง ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้นๆ ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถรู้ว่าชัด ​ เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือเครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรทำให้แจ้ง ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
  
-======หานภาคิยจตุกกนิทเทส'''​=====+======หานภาคิยจตุกกนิทเทส======
  
 ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนชำแรกกิเลส ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนชำแรกกิเลส ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
บรรทัด 348: บรรทัด 349:
 สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยกาม ของพระโยคาวจร ผู้ได้ปฐมฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่ปฐมฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันไม่ประกอบด้วยวิตกเป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยวิตก ของพระโยคาวจร ผู้ได้ทุติยฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่ทุติยฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอุเบกขาและสุข เป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะเป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยปีติและสุขของพระโยคาวจร ผู้ได้ตติยฌาน เป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่ตติยฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอุเบกขาและสุข ของพระโยคาวจรผู้ได้จตุตถฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่จตุตถฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอากาสานัญจายตนฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่ายประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลสสัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยรูป ของพระโยคาวจรผู้ได้อากาสานัญจายตนฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่อากาสานัญจายตนฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยวิญญาณัญจายตนฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอากาสานัญจายตนฌาน ของพระโยคาวจรผู้ได้วิญญาณัญจายตนฌาน เป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่วิญญาณัญจายตนฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอากิญจัญญายตนฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่ายประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลสสัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยวิญญาณัญจายตนฌาน ของพระโยคาวจรผู้ได้อากิญจัญญายตนฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อมความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่อากิญจัญญายตนฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส ชื่อว่าญาณ ด้วยอรรถว่ารู้ธรรมนั้นชื่อว่าปัญญา ด้วยอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยกาม ของพระโยคาวจร ผู้ได้ปฐมฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่ปฐมฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันไม่ประกอบด้วยวิตกเป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยวิตก ของพระโยคาวจร ผู้ได้ทุติยฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่ทุติยฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอุเบกขาและสุข เป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะเป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยปีติและสุขของพระโยคาวจร ผู้ได้ตติยฌาน เป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่ตติยฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอุเบกขาและสุข ของพระโยคาวจรผู้ได้จตุตถฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่จตุตถฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอากาสานัญจายตนฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่ายประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลสสัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยรูป ของพระโยคาวจรผู้ได้อากาสานัญจายตนฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่อากาสานัญจายตนฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยวิญญาณัญจายตนฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอากาสานัญจายตนฌาน ของพระโยคาวจรผู้ได้วิญญาณัญจายตนฌาน เป็นไปอยู่นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่วิญญาณัญจายตนฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยอากิญจัญญายตนฌานเป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่ายประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลสสัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยวิญญาณัญจายตนฌาน ของพระโยคาวจรผู้ได้อากิญจัญญายตนฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อมความพอใจอันเป็นธรรมสมควรแก่อากิญจัญญายตนฌานนั้นยังตั้งอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ สัญญาและมนสิการอันประกอบด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ สัญญาและมนสิการอันสหรคตด้วยความเบื่อหน่าย ประกอบด้วยวิราคะ เป็นไปอยู่ นี้เป็นธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส ชื่อว่าญาณ ด้วยอรรถว่ารู้ธรรมนั้นชื่อว่าปัญญา ด้วยอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความชำแรกกิเลส ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
  
-======ลักขณัตติกนิทเทส'''​=====+======ลักขณัตติกนิทเทส======
  
 [79] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ [79] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ
บรรทัด 354: บรรทัด 355:
 ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า รูปไม่เที่ยงเพราะความว่าสิ้นไป เป็นทุกข์เพราะความว่าน่ากลัว เป็นอนัตตาเพราะความว่าหาแก่นสารมิได้ ชื่อว่าสุตมยญาณ ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าเวทนาสัญญา สังขาร วิญญาณ จักษุ ฯลฯ ชราและมรณะ ไม่เที่ยง เพราะความว่าสิ้นไป เป็นทุกข์เพราะความว่าน่ากลัว เป็นอนัตตาเพราะความว่าหาแก่นสารมิได้ ชื่อว่าสุตมยญาณ ชื่อว่าญาณด้วยอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญาด้วยอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า รูปไม่เที่ยงเพราะความว่าสิ้นไป เป็นทุกข์เพราะความว่าน่ากลัว เป็นอนัตตาเพราะความว่าหาแก่นสารมิได้ ชื่อว่าสุตมยญาณ ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าเวทนาสัญญา สังขาร วิญญาณ จักษุ ฯลฯ ชราและมรณะ ไม่เที่ยง เพราะความว่าสิ้นไป เป็นทุกข์เพราะความว่าน่ากลัว เป็นอนัตตาเพราะความว่าหาแก่นสารมิได้ ชื่อว่าสุตมยญาณ ชื่อว่าญาณด้วยอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญาด้วยอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่าสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ชื่อว่าสุตมยญาณ ฯ
  
-======จตุราริยสัจจนิทเทส'''​=====+======จตุราริยสัจจนิทเทส======
  
 [80] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วว่า นี้ทุกขอริยสัจ นี้ทุกขสมุทัยอริยสัจ นี้ทุกขนิโรธอริยสัจนี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ [80] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วว่า นี้ทุกขอริยสัจ นี้ทุกขสมุทัยอริยสัจ นี้ทุกขนิโรธอริยสัจนี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างไร ฯ
บรรทัด 406: บรรทัด 407:
 ในอริยมรรคมีองค์ 8 นั้น สัมมาสมาธิเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ​ สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้าทุติยฌานอันเป็นความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแก่สมาธิอยู่ ภิกษุเป็นผู้มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกายเพราะปีติสิ้นไป เข้าตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่าผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุขเข้าจตุตถฌานอันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่นี้ท่านกล่าวว่า สัมมาสมาธิ นี้ท่านกล่าวว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ชื่อว่าญาณ ด้วยอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา ด้วยอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่อว่าสุตมยญาณ ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างนี้ ฯ ในอริยมรรคมีองค์ 8 นั้น สัมมาสมาธิเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ​ สงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรม เข้าปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้าทุติยฌานอันเป็นความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแก่สมาธิอยู่ ภิกษุเป็นผู้มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกายเพราะปีติสิ้นไป เข้าตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่าผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุขเข้าจตุตถฌานอันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่นี้ท่านกล่าวว่า สัมมาสมาธิ นี้ท่านกล่าวว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ชื่อว่าญาณ ด้วยอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา ด้วยอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วนั้นว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่อว่าสุตมยญาณ ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว ชื่อว่าสุตมยญาณอย่างนี้ ฯ
  
-====สีลมยญาณนิทเทส'''​===+====สีลมยญาณนิทเทส====
  
 [86] ปัญญาในการฟังธรรมแล้วสำรวมไว้ ชื่อว่าสีลมยญาณอย่างไร ฯ [86] ปัญญาในการฟังธรรมแล้วสำรวมไว้ ชื่อว่าสีลมยญาณอย่างไร ฯ
บรรทัด 466: บรรทัด 467:
 ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้นๆ ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการฟังธรรมแล้วสำรวมไว้เป็นสีลมยญาณ ฯ ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้นๆ ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการฟังธรรมแล้วสำรวมไว้เป็นสีลมยญาณ ฯ
  
-====สมาธิภาวนามยญาณนิทเทส'''​===+====สมาธิภาวนามยญาณนิทเทส====
  
 [92] ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ด้วยดี เป็นสมาธิภาวนามยญาณอย่างไร? ​ [92] ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ด้วยดี เป็นสมาธิภาวนามยญาณอย่างไร? ​